Page 511 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 511

๔๙๙




                           ๒.๒.๑ หลักการควบคุมอาชญากรรม (Crime Control)

                                 หลักการนี้มีความเชื่อว่ากระบวนการยุติธรรมที่ดีจะต้องมีสถิติการจับกุมผู้กระท าความผิด

                 เป็นจ านวนมากและผู้ที่ถูกจับกุมนั้นต้องเป็นผู้กระท าความผิดจริง การด าเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการ
                 ต้องมีความรวดเร็วเด็ดขาด การค้นหาข้อเท็จจริงให้เริ่มมีขึ้นตั้งแต่เริ่มแรกของกระบวนการยุติธรรม คดีอาญา

                 ทั้งปวงที่เข้าสู่ระบบงานยุติธรรมทางอาญาต้องด าเนินไปตามขั้นตอนต่างๆ ที่ก าหนดไว้อย่างสม่ าเสมอ ไม่หยุดชะงัก
                 โดยมีกระบวนการกลั่นกรองในแต่ละขั้นตอน และขั้นตอนต่างๆ จะด าเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นการปฏิบัติงาน

                                                                                           ิ
                                                                                 ้
                 ประจ าซึ่งจะมีตั้งแต่การสืบสวน การจับกุม การสอบสวน การเตรียมคดี การฟองคดี การพจารณาคดี และการ
                  ิ
                 พพากษาลงโทษผู้กระท าความผิดและปล่อยจ าเลย กระบวนการต่างๆ เหล่านี้จึงต้องมีความรวดเร็วแน่นอน
                 อนหมายถึงโอกาสที่ผู้กระท าความผิดจะหลุดพนจากการที่ถูกศาลพพากษาลงโทษได้น้อยที่สุด การค้นหา
                                                         ้
                  ั
                                                                           ิ
                 ข้อเท็จจริงในหลักการนี้พยายามให้ยุติในขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมให้มากที่สุด เช่น ให้ยุติในชั้น
                 พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอยการมากกว่าการน าคดีเข้าสู่ศาลโดยไม่จ าเป็น โดยเชื่อว่าการด าเนินการตาม
                                            ั
                 ขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมควรอยู่ภายใต้อานาจของพนักงานสอบสวนและพนักงานอยการเป็นส่วนใหญ่

                                                                                            ั
                 วิธีการด าเนินตามขั้นตอนต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพจะท าให้การวินิจฉัยแยกคดีเสร็จไปตั้งแต่ขั้นตอนต้นๆ ของ

                 กระบวนการยุติธรรม
                                   ๒๐
                           ๒.๒.๒ หลักความชอบด้วยกระบวนการทางกฎหมาย (Due Process)

                                  หลักความชอบด้วยกระบวนการทางกฎหมายมีแนวคิดตรงกันข้ามกับหลักการควบคุม

                 อาชญากรรมโดยเน้นหนักเรื่องการให้ความคุ้มครองสิทธิของประชาชนมากกว่าที่จะพยายามป้องกันและ

                 ปราบปรามอาชญากรรมซึ่งเป็นหลักการที่ยึดกฎหมายเป็นหลัก โดยเห็นว่าการด าเนินคดีอาญาจะต้องมีความ
                 เป็นธรรมทั้งรูปแบบและขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการยุติธรรม หลักการนี้ไม่เห็นพ้องกับการแสวงหา

                 ข้อเท็จจริงอย่างไม่เป็นทางการของหลักการควบคุมอาชญากรรมในขั้นตอนเจ้าพนักงานต ารวจและพนักงาน
                 อยการ แต่เห็นว่าจะต้องให้มีการพจารณาคดีหรือไต่สวนข้อกล่าวหาของผู้ต้องหาอย่างเป็นทางการเปิดเผยใน
                                              ิ
                  ั
                 ศาลยุติธรรม หลักความชอบด้วยกระบวนการกฎหมายนี้จึงมีแนวคิดว่าบุคคลจะไม่ถูกกล่าวหาว่ากระท า

                 อาชญากรรมเพราะว่ามีหลักฐานว่าเขาได้กระท าเท่านั้น แต่เขาจะมีความผิดก็ต่อเมื่อผู้มีอ านาจตามกฎหมายได้

                 พิจารณาพิพากษาชี้ขาดแล้วว่าเขามีความผิด นอกจากนี้ ผู้มีอานาจพิจารณาพิพากษาก็จะต้องปฏิบัติตามตัวบท
                                                                                         ื่
                 กฎหมายต่างๆ ที่ให้ความคุ้มครองสิทธิของเขาอย่างถี่ถ้วน และไม่ควรปล่อยให้องค์กรอนมาวินิจฉัยข้อเท็จจริง


                           อ้างถึงใน อภิรัตน์ เพ็ชรศิริ และคณะ, “สิทธิมนุษยชนและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย,”
                 (กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการต าราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๒๙), น. ๑.
                                                ้
                       ๒๐  ศศิวิมล เสมอใจ, "การบังคับใชกฎหมายในเรื่องการออกหมายจับโดยศาล," (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต
                 สาขากฎหมายอาญา, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๒, น. ๗-๘.
   506   507   508   509   510   511   512   513   514   515   516