Page 516 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 516

๕๐๔




                                                                    ั
                 สังคมทั่วไป ในปี ค.ศ. ๑๙๖๔ Dr.Ralph Schwitzgebel ได้พฒนาวิทยุที่ส่งข้อมูลโดยมีความสามารถในการส่ง

                 สัญญาณเป็นระยะทาง ๔๐๐ เมตร บุคคลสามารถสวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว และกาหนดสถานที่ตั้งของผู้ที่สวมใส่
                  ุ
                                   ิ
                 อปกรณ์ได้ อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์นี้มีการน ามาใช้อย่างจริงจังเมื่อประมาณปี ค.ศ. ๑๙๘๙ และมีการน า
                 เทคโนโลยีของอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวมาใช้ในการควบคุมตัวผู้กระท าความผิดในประเทศต่างๆ โดยมี
                                     ิ
                              ุ
                                                                                          ิ
                                                                 ๒๙
                                                                                   ุ
                              ื่
                 วัตถุประสงค์เพอลดจ านวนผู้ต้องขังในเรือนจ าเป็นส าคัญ  ประเทศแรกที่น าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้คือ
                 สหรัฐอเมริกา และต่อมามีการแพร่หลายไปยังประเทศอนๆ ไม่ว่าจะเป็นแคนาดา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส
                                                                ื่
                 สวีเดน เยอรมนี สวิสเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย โปรตุเกส ฟินแลนด์ รวมถึงประเทศในทวีเอเชีย เช่น สาธารณรัฐ
                                      ิ
                               ุ
                 เกาหลีใต้ ซึ่งน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นประเทศแรก สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นต้น
                                                                                          ๓๐

                 ๓. ความเป็นมาของกฎหมายและนโยบายของศาลในการปล่อยชั่วคราว

                        การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีการบัญญัติไว้เรื่อยมาตั้งแต่เมื่อครั้งที่มีการจัดท าประมวล
                                                            ิ
                 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยมีการแก้ไขเพ่มเติมเพ่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
                                                                   ื
                 ปัจจุบันการปล่อยชั่วคราวถูกบัญญัติไว้ในหมวด ๓ ว่าด้วยเรื่องปล่อยชั่วคราว ตั้งแต่มาตรา ๑๐๘ ถึงมาตรา

                 ๑๑๙ ทวิ บทความฉบับนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะความเป็นมาของการวินิจฉัยค าร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวตาม
                 มาตรา ๑๐๘ เท่านั้น


                        ก่อนปี ๒๕๕๘ ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๘ บัญญัติเรื่องการวินิจฉัยค าร้อง
                                                       ิ
                 ปล่อยชั่วคราวไว้ว่า “ในการวินิจฉัยค าร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ต้องพิจารณาข้อเหล่านี้ประกอบ

                              (๑) ความหนักเบาแห่งข้อหา
                              (๒) พยานหลักฐานที่ปรากฏแล้วมีเพียงใด

                              (๓) พฤติการณต่างๆ แห่งคดีเป็นอย่างไร
                                          ์
                              (๔) เชื่อถือผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันได้เพียงใด
                              (๕) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยน่าจะหลบหนีหรือไม่




                         ๒๙   Norval  Morris  and  Micheal  Tony,  Between  Prison:  Toward  a  Comprehensive  Punishment
                                                                               ั
                 System (New York: Oxford University Press, 1990), p. 212-214, อ้างถึงในวิชย ลีลาสวัสดิ์. การน าเครองมือตดตาม
                                                                                                       ิ
                                                                                                 ื่
                 ตว (Electronic Monitoring) มาใช้กับผถูกคุมความประพฤตในศาลแขวงพระนครเหนือ [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ ๑๒
                                                                  ิ
                                                 ู้
                  ั
                 ธันวาคม ๒๕๕๙. http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp๒๕๕๗_๑๓_๑๓.pdf.
                                                                                           ู
                                                     ิ
                                                ื่
                        ๓๐   วิชัย ลีลาสวัสดิ์. การน าเครองมือตดตามตว (Electronic Monitoring) มาใช้กับผ้ถูกคุมความประพฤต ิ
                                                           ั
                 ในศาลแขวงพระนครเหนือ [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๙. http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp
                 ๒๕๕๗_๑๓_๑๓.pdf.
   511   512   513   514   515   516   517   518   519   520   521