Page 521 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 521

๕๐๙




                                            ั
                 การป้องกันการหลบหนีและภัยอนตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้รับ
                 การปล่อยชั่วคราวจากศาล ซึ่งนอกจากจะท าให้สังคมได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้นแล้ว ยังมีส่วนช่วยลดความ

                 จ าเป็นในการเรียกหลักประกันลงด้วย ส่งผลให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ยากจนไม่อาจหาหลักประกันมาวางมีโอกาส
                                                                      ื่
                 ในการได้รับการปล่อยชั่วคราวเช่นเดียวกับผู้ต้องหาหรือจ าเลยอน อนเป็นการลดความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึง
                                                                         ั
                 กระบวนการยุติธรรมได้อกทางหนึ่ง สาระส าคัญของค าแนะน าฉบับนี้ คือ การก าหนดนิยามของการก ากับดูแล
                                      ี
                 การระบุตัวอย่างเงื่อนไขที่ศาลอาจก าหนดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติในระหว่างปล่อยชั่วคราวตามประมวล
                                                                                              ื
                 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๘ วรรคสาม การก าหนดให้มีผู้ก ากับดูแลเพ่อสอดส่องดูแล
                 รับรายงานตัว หรือให้ค าปรึกษาแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว การน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้ควบคู่กับการตั้ง
                                                                       ุ
                                                                              ิ
                 ผู้ก ากับดูแล หรือการให้อานาจศาลในการน าวิธีการตามค าแนะน าฉบับนี้ไปใช้ประกอบการพิจารณาสั่งค าร้องขอ

                 ปล่อยชั่วคราวระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกาด้วย เป็นต้น


                        ๘. การแก้ไขระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าด้วยการปล่อยชั่วคราว (ฉบับที่ ๓)
                 พ.ศ. ๒๕๖๔

                            เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในระหว่างการพิจารณาคดีจึงมี

                 การแก้ไขระเบียบข้อราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าด้วยการปล่อยชั่วคราวในครั้งนี้ สาระส าคัญคือการให้
                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลย หรือผู้ที่เป็นเครือญาติหรือเกี่ยวพันโดยทางสมรสหรือในทางการงานกับผู้ต้องหาหรือจ าเลย

                 สามารถยื่นค าร้องขอปล่อยชั่วคราวโดยไม่จ าต้องเสนอหลักประกันมาพร้อมกับค าร้อง หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า
                 “ค าร้องใบเดียว” นโยบายนี้เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการหาหลักประกนก่อนที่ศาล
                                                                                                 ั
                 จะมีค าสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เนื่องจากแต่เดิมผู้ที่ยื่นค าร้องขอปล่อยชั่วคราวจะต้องยื่น

                          ั
                                   ั
                 หลักประกนมาพร้อมกบค าร้องขอปล่อยชั่วคราวเสียก่อนผู้พิพากษาจึงจะพิจารณาสั่ง นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไข
                                  ิ
                 โดยก าหนดให้ศาลพจารณาก าหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติ มาตรการก ากับดูแล การสั่งให้ใช้
                 อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวร่วมด้วย หากศาลเห็นว่าจ าเป็นต้องใช้มาตรการดังกล่าวเพอป้องกันการ
                                                                                                ื่
                         ิ
                  ุ
                                      ิ่
                 หลบหนีแทนการใช้วิธีเพมหลักประกัน หรือการก าหนดแนวทางในการพจารณาอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว
                                                                               ิ
                 ระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกากรณีที่ศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจ าคุกจ าเลยไม่เกินห้าปี เป็นต้น
                        จะเห็นว่า ระยะหลังศาลยุติธรรมมีความพยายามในการน าเทคโนโลยีและมาตรการต่างๆ มาใช้ในการ

                 ปล่อยชั่วคราวมากขึ้น เพ่อให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยซึ่งไม่ว่าจะมีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไรก็สามารถเข้าถึงสิทธิ
                                      ื
                 ในการได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวอย่างเท่าเทียมกันให้มากที่สุด อนแสดงถึงความเสมอภาคในการเข้าถึง
                                                                           ั
                 กระบวนการยุติธรรม ขณะเดียวกันก็ให้ความส าคัญกับวงเงินประกันหรือมูลค่าหลักประกันน้อยลง ซึ่ง

                 เทคโนโลยีและมาตรการต่างๆ ที่น ามาใช้ในการปล่อยชั่วคราวเช่นว่านี้นอกจากจะช่วยยกระดับการคุ้มครอง

                 สิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว ยังช่วยติดตามและควบคุมมิให้ผู้ต้องหาหรือ
   516   517   518   519   520   521   522   523   524   525   526