Page 524 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 524
๕๑๒
๔.๒ ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในการได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว
ในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย ศาลยุติธรรมก าหนดมาตรฐานกลางเกี่ยวกับวงเงิน
ื่
ประกันหรือหลักประกันส าหรับความผิดแต่ละฐานไว้อย่างชัดเจน เพอเป็นแนวทางให้แต่ละศาลก าหนดวงเงิน
ประกันหรือหลักประกันที่ใช้ในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งแต่ละศาลเองได้
ประกาศบัญชีมาตรฐานดังกล่าวไว้โดยชัดแจ้งอันแสดงถึงความโปร่งใส เพื่อให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยสามารถทราบ
ได้ทันทีว่าหากประสงค์จะยื่นค าร้องขอปล่อยชั่วคราวจะต้องเตรียมหลักประกันจ านวนเท่าใด และไม่ว่า
ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะเป็นบุคคลใดก็ล้วนอยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน หลักการเช่นนี้ดูคล้ายกับว่าผู้ต้องหาหรือ
จ าเลยแต่ละคนได้รับการปฏิบัติโดยเสมอภาคเท่าเทียมกัน ไม่มีการเลือกปฏิบัติ แต่มีข้อน่าคิดว่า การก าหนดให้
ผู้ต้องหาหรือจ าเลยแต่ละคนซึ่งถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในความผิดฐานเดียวกันใช้วงเงินหรือหลักประกันเท่ากัน
ทุกกรณีเป็นความเสมอภาคจริงหรือไม่ เนื่องจากแม้จะเป็นการถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในความผิดฐานเดียวกัน
แต่พฤติการณ์ในคดี พยานหลักฐานที่เชื่อมโยงถึงตัวผู้ต้องหาหรือจ าเลยแต่ละคน ฐานะ แนวโน้มหรือความ
เป็นไปได้ในการหลบหนีของผู้ต้องหาหรือจ าเลยแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน การก าหนดให้ทุกคนใช้มาตรฐาน
การปล่อยชั่วคราวโดยก าหนดวงเงินหรือหลักประกันเท่ากันโดยมิได้น าข้อมูลส่วนตัวของผู้ต้องหาหรือจ าเลยมา
ั
ใช้ประกอบการพจารณาย่อมสะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมกนในการปล่อยชั่วคราว เพราะท้ายที่สุดแล้วผู้ต้องหา
ิ
หรือจ าเลยที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีย่อมมีโอกาสได้รับการปล่อยชั่วคราวมากกว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีฐานะ
ยากจน
สาเหตุส าคัญประการหนึ่งที่ส่วนใหญ่ผู้พพากษาใช้ดุลพนิจก าหนดวงเงินหรือหลักประกันของ
ิ
ิ
้
ผู้ต้องหาที่ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยที่ถูกฟองในความผิดฐานเดียวกันเป็นจ านวนเท่ากันเกิดจากการที่ศาล
ขาดข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ต้องหาหรือจ าเลย ท าให้ไม่ทราบภูมิหลัง ลักษณะนิสัย ความประพฤติ หรือข้อมูล
ั
ส่วนตัวของผู้ต้องหาหรือจ าเลยอนเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อแนวโน้มในการจะหลบหนี การจะไปยุ่งเหยิงกับ
ั
ื่
พยานหลักฐาน หรือก่อเหตุอนตรายประการอน ตลอดจนความสามารถของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการหา
หลักประกัน หากศาลมีข้อมูลที่จ าเป็นเกี่ยวกับตัวผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มากพอเมื่อน ามาพจารณาประกอบ
ิ
พฤติการณแห่งคดี และพยานหลักฐานที่เชื่อมโยงกับการกระท าผิดของผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้จากบันทึกการ
์
จับกุมหรือค าร้องขอฝากขังครั้งที่ ๑ แล้ว เชื่อว่าจะท าให้ศาลสามารถประเมินความเสี่ยงในการหลบหนีของ
ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถใช้ดุลพินิจในการก าหนดวงเงิน หลักประกัน ตลอดจน
มาตรการที่จะน ามาใช้กับผู้ต้องหาหรือจ าเลยให้ได้รับการปล่อยชั่วคราวได้อย่างเหมาะสมและไม่เป็นภาระ
แก่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยมากเกินไป
แม้ประเด็นเรื่องการสอบถามข้อมูลของผู้ต้องหาหรือจ าเลยเพอใช้ประเมินความเสี่ยงในการ
ื่
หลบหนีจะมีความส าคัญ และมีการก าหนดไว้ในค าแนะน าของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับมาตรฐานกลางส าหรับ