Page 525 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 525

๕๑๓




                 การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึ่งก าหนดแนวทางส าหรับการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือ
                                                  ิ
                 จ าเลยไว้ในค าแนะน าข้อ ๑. เรื่องการพจารณาค าร้องขอปล่อยชั่วคราว โดยระบุให้ศาลชั้นต้นควรจัดให้มีการ
                                                      ื่
                 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ต้องหาหรือจ าเลยเพอประเมินถึงความเสี่ยงที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะหลบหนี หรือไป
                                                                       ิ
                 ก่อเหตุอันตรายว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพจารณาว่าสมควรที่จะปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา
                 หรือจ าเลยนั้นหรือไม่ก็ตาม แต่การก าหนดดังกล่าวเป็นเพยงค าแนะน าของประธานศาลฎีกาที่ก าหนดแนวทาง
                                                                ี
                 ว่าศาลชั้นต้นควรปฏิบัติอย่างไรเท่านั้น มิได้เป็นบทบังคับที่ทุกศาลหรือผู้พิพากษาทุกคนต้องปฏิบัติต่างจากการ
                                                ี
                 บัญญัติไว้ในกฎหมาย จึงส่งผลให้มีเพยงบางศาลหรือบางคดีเท่านั้นที่มีการสอบถามข้อมูลจากผู้ต้องหาหรือ
                 จ าเลยเพื่อใช้ในการประเมินความเสี่ยง

                     ๔.๓ ปัญหาการก าหนดความรับผิดของผู้ต้องหาหรือจ าเลยกรณีหลบหนี


                            เนื่องจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๘ วรรคสาม ที่แก้ไขใหม่ บัญญัติให้
                                              ิ
                                       ุ
                 อ านาจศาลในการสั่งให้น าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้กับผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวได้
                 หากผู้นั้นยินยอม และพระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล

                 พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้อานาจศาลในการแต่งตั้งผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวเพอให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติตาม

                                                                               ื่
                 เงื่อนไขที่ศาลก าหนด ด้วยเหตุนี้ ส านักงานศาลยุติธรรมจึงน างบประมาณที่ได้รับจัดสรรไปท าสัญญาเช่า
                         ิ
                  ุ
                 อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์จากบริษัทเอกชนโดยไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้ต้องหาหรือจ าเลย และ
                 หลังจากที่พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐
                 มีผลใช้บังคับ เมื่อศาลแต่งตั้งบุคคลใดเป็นผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวแล้ว บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งมีสิทธิที่จะ

                 ได้รับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายจากศาล หรือหากเป็นกรณีที่ความปรากฏแก่ศาลว่าผู้ถูกปล่อยชั่วคราวเป็น

                 ผู้ยากไร้และไม่มค่าพาหนะส าหรับการเดินทางไปศาลหรือเพื่อให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขทศาลก าหนด ศาลมีอานาจ
                                                                                      ี่
                              ี

                 สั่งจ่ายค่าพาหนะแก่ผู้นั้นได้ตามความจ าเป็น นอกจากนี้ การที่ประธานศาลฎีกาออกคาแนะน าก าหนดแนวทาง
                                                                   ิ
                 ส าหรับการปล่อยชั่วคราว เปิดโอกาสให้ศาลสามารถใช้ดุลพนิจอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกัน โดย
                 ให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยสาบานหรือปฏิญาณตนวาจะมาศาลตามนัดหรือหมายเรียกในคดีความผิดที่มีโทษปรับ
                                                         ่
                                                                                               ิ
                 สถานเดียว หรือคดีที่มีอัตราโทษจ าคุกอย่างสูงไม่เกินสิบปีได้ ดังนี้ ไม่ว่าจะเป็นการน าอุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มา
                 ใช้ การแต่งตั้งผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ตลอดจนการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวด้วยวิธีการสาบานตน ล้วน

                 แต่มีส่วนช่วยให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจนได้รับการปล่อยชั่วคราวมากขึ้น โดยศาลยุติธรรมมีภาระ

                 ค่าใช้จ่าย ต้องจัดสรรงบประมาณที่ได้รับเพอใช้ในการด าเนินการดังกล่าว แต่กลับพบว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลย
                                                     ื่
                 จ านวนไม่น้อยที่ได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวด้วยกลไกทางกฎหมายเหล่านี้เพิกเฉยต่อโอกาสที่ได้รับ หลบหนี

                 ไม่มารายตัวต่อศาลตามก าหนด ซึ่งการหลบหนีในกรณีนี้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความรับผิดทางอาญาหรือถูก


                 ด าเนินคดี ต่างจากการหลบหนีในระหว่างคุมขังตามอานาจของศาล ของพนักงานอยการ ของพนักงาน
                                                                                          ั
   520   521   522   523   524   525   526   527   528   529   530