Page 523 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 523

๕๑๑




                                 ิ
                           ุ
                                                                             ุ
                 หลังจากใช้อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ไปได้ระยะหนึ่งพบว่าหลายครั้งที่สายรัดอปกรณ์ที่แต่ละศาลได้รับจัดสรรมีขนาด
                 ไม่เหมาะกับข้อเท้าของผู้ต้องหาหรือจ าเลยท าให้ไม่สามารถใส่อปกรณ์ได้ ปัญหาที่พบบ่อยคืออปกรณ์ขัดข้อง
                                                                                                ุ
                                                                      ุ
                 โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการขัดข้องหลังจากที่ปลดอปกรณ์จากผู้ต้องหาหรือจ าเลยส่งกลับไปยังบริษัทผู้ให้เช่า
                                                           ุ
                 เพอล้างข้อมูลในอปกรณ์เดิมก่อนจะน ากลับมาใช้กับผู้ต้องหาหรือจ าเลยรายใหม่ ปัญหาที่พบบ่อยมากที่สุดคือ
                                ุ
                   ื่
                 ไม่สามารถชาร์ตแบตเตอรี่ได้ ท าให้มีการส่งสัญญาณเตือนไปยังศูนย์ควบคุมว่าแบตเตอรี่ของอปกรณ์อยู่ใน
                                                                                                 ุ
                                                              ุ
                 ระดับต่ าเนื่องจากผู้ต้องหาหรือจ าเลยละเลยไม่ชาร์ตอปกรณ์ สันนิษฐานว่าจะหลบหนี แต่เมื่อสอบถามไปยัง
                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลยแล้วกลับพบว่าเกิดจากความขัดข้องของอุปกรณ์เอง กลายเป็นภาระของผู้ต้องหาหรือจ าเลย
                 ที่จะต้องเดินทางมาศาลเพ่อเปลี่ยนอุปกรณ์ ซึ่งศาลบางแห่งมีอุปกรณ์ไม่เพียงพอ ต้องหยิบยืมจากศาลอ่น
                                                                                                          ื
                                        ื
                                                                  ุ
                 ยิ่งไปกว่านั้น ยังเกิดกรณีที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยถอดท าลายอปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยไม่มีสัญญาณแจ้งเตือน
                 ไปยังศูนย์ควบคุมอีกด้วย


                            เมื่อเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นประกอบกับขณะนั้นพระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุม
                 ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับ ศาลยุติธรรมจึงมีนโยบายหันมาสนับสนุนการ

                 น ามาตรการในการแต่งตั้งผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามบทบัญญัติดังกล่าวมาใช้ มีการออกค าแนะน าของ

                 ประธานศาลฎีกาว่าด้วยการใช้มาตรการก ากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔ มาใช้บังคับ และมี
                                                                                               ิ
                 นโยบายให้ทุกศาลหันมาใช้มาตรการดังกล่าวโดยให้เหตุผลว่าเป็นการเพมทางเลือกให้ผู้พพากษาใช้เป็น
                                                                                ิ่
                 เครื่องมือในการพจารณาปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้มากขึ้น โดยสามารถก าหนดเงื่อนไขต่างๆ ได้
                                ิ
                 นอกเหนือจากการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพียงอย่างเดียว


                            จากที่กล่าวมาข้างต้น ปฏิเสธไม่ได้ว่าระยะหลังการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลย

                 โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิในการได้รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวในระหว่างพิจารณาสามารถด าเนินการได้อย่างเป็น
                 รูปธรรม มีการน าไปปฏิบัติได้จริง ส่งผลให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้รับโอกาสในการปล่อยชั่วคราวเมื่อเข้าสู่

                 กระบวนการยุติธรรมได้มากขึ้น สาเหตุประการส าคัญประการหนึ่งเกิดจากการที่ศาลยุติธรรมมีนโยบายในการ

                 สนับสนุนและขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง ส่วนวิธีปฏิบัติหรือมาตรการที่จะน ามาใช้เพอขยายโอกาสให้
                                                                                              ื่
                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลยให้สามารถเข้าถึงสิทธิในการรับการปล่อยชั่วคราวจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับแนวนโยบายของ

                 ผู้บริหารศาลเป็นส าคัญ จึงน่าคิดว่าหลังจากนี้ทิศทางหรือแนวโน้มของนโยบายเกี่ยวกับการเข้าถึงสิทธิในการ
                 ได้รับการปล่อยชั่วคราวของผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะเป็นอย่างไรเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร นโยบายที่

                 ขับเคลื่อนมาตลอดจะได้รับการสานต่อและพฒนาหรือไม่ งบประมาณที่ใช้ในการจัดหาอปกรณ์ มาตรการ
                                                       ั
                                                                                             ุ
                 ตลอดจนกลไกทางกฎหมายต่างๆ ที่มีการประชาสัมพันธ์และผลักดันให้แต่ละศาลใช้ในทุกวันนี้จะยังคงอยู่ หรือ

                 จะมีทิศทางอย่างไรในอนาคต
   518   519   520   521   522   523   524   525   526   527   528