Page 522 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 522
๕๑๐
ั
จ าเลยหลบหนี ยุ่งเหยิงกบพยานหลักฐาน และก่ออันตรายประการอื่นได้ยิ่งกว่าการก าหนดจ านวนหลักประกัน
มูลค่าสูง อันเป็นการคุ้มครองความสงบสุขของสังคมได้ในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ยังมีปัญหาในการ
ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในชั้นพิจารณาเกิดขึ้นหลายประการ
๔. ปัญหาเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในชั้นพิจารณา
๔.๑ ปัญหาความไม่ต่อเนื่องของนโยบายในการปล่อยชั่วคราว
ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ เป็นต้นมาจะเห็นว่าศาลยุติธรรมตระหนักและให้ความส าคัญกับการคุ้มครองสิทธิ
เสรีภาพของผู้ต้องหาและจ าเลยมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการได้รับการ
ปล่อยชั่วคราว มีการคิดหาวิธีการต่างๆ ตลอดจนน าเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารความเสี่ยงจากการหลบหนี
ขณะเดียวกันก็ให้ความส าคัญกับจ านวนหลักประกันที่จะใช้ในการปล่อยชั่วคราวน้อยลง โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจนมีโอกาสเข้าถึงสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราวมากขึ้น
ในระยะแรก ช่วงปี ๒๕๖๐ ศาลยุติธรรมศึกษาวิจัยการใช้แบบประเมินความเสี่ยงเพอปล่อยชั่วคราว
ื่
ผู้ต้องหาหรือจ าเลยโดยไม่ใช้หลักประกัน โดยใช้วิธีสอบถามข้อมูลส่วนตัวของผู้ต้องหาหรือจ าเลยแล้วน ามา
ประเมินว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยคนนั้นๆ มีแนวโน้มที่จะหลบหนีมากน้อยเพยงใด มีการเริ่มทดลองใช้กับศาล ๕ แห่ง
ี
คือ ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช ศาลจังหวัดจันทบุรี ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลจังหวัดกาฬสินธุ์ และ
ั
ศาลจังหวัดเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ขยายไปยังศาลทั่วประเทศโดยใช้กับคดีที่อตราโทษจ าคุกอย่างสูงไม่เกิน
ห้าปี ต่อมาจึงมีการน ามาใช้กับคดีที่มีอตราโทษจ าคุกอย่างสูงไม่เกินสิบปี และสุดท้ายน ามาใช้กับทุกอัตราโทษ ซึ่ง
ั
หลังจากที่มีแนวคิดในการน าแบบประเมินความเสี่ยงมาใช้พบว่าศาลยุติธรรมมีนโยบายให้แต่ละศาลน าวิธีการ
ประเมินความเสี่ยงมาใช้ให้ได้มากที่สุด แต่หลังจากนั้นไม่นานเมื่อนโยบายของผู้บริหารเปลี่ยน การประเมิน
ความเสี่ยงจึงลดบทบาทลงจนแทบไม่มีการน ามาใช้หรือน ามาใช้น้อยมาก
ุ
ต่อมามีแนวความคิดในการน าเทคโนโลยีอนได้แก่ อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ (Electronic
ั
ิ
Monitoring) หรือ EM ซึ่งใช้ในการตรวจสอบการเดินทางหรือตรวจสอบต าแหน่งที่อยู่จากระยะไกลมาใช้เพอ
ื่
ุ
ิ่
เพมประสิทธิภาพในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย โดยศาลยุติธรรมท าสัญญาเช่าอปกรณ์
ิ
อเล็กทรอนิกส์จากบริษัทเอกชน และเริ่มน ามาใช้เป็นครั้งแรกเดือนมีนาคม ๒๕๖๑ ใช้งบประมาณกว่า
๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ส าหรับการเช่าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ชุดแรกจ านวน ๕,๐๐๐ เครื่อง ใช้กับศาลน าร่อง
ิ
ุ
ิ
๑๕ แห่ง ต่อมามีการเช่าอุปกรณ์เพ่มเติมและขยายให้มีการน าไปใช้ในศาลยุติธรรมทั่วประเทศ ขณะนั้น
ศาลยุติธรรมมีนโยบายสนับสนุนให้แต่ละศาลน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปล่อยชั่วคราวให้มากที่สุด
ิ
ุ
ุ
เช่นเดิม มีการเก็บสถิติการใช้อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ของแต่ละศาล หลังจากนั้นจึงเริ่มเกิดปัญหาความไม่เพยงพอ
ิ
ี
ุ
ิ
ุ
ื่
ของอปกรณ์ที่ได้รับการจัดสรรเนื่องจากมีการน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ไปใช้จ านวนมากเพอสนองนโยบาย