Page 515 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 515

๕๐๓




                                                                                    ื่
                                    ๓) การใช้ภายหลังจ าคุกมาระยะหนึ่ง (Post - Prison) ใช้เพอการเตรียมตัวระยะสุดท้าย
                                              ื่
                 ของโทษจ าคุก โดยพกการลงโทษเพอให้ผู้กระท าความผิดสามารถกลับเข้าสู่สังคมได้อย่างปกติสุข ตัวอย่างของ
                                  ั
                 ประเทศที่ใช้ระบบนี้ ได้แก่ ประเทศอังกฤษ และประเทศนิวซีแลนด์

                           ๒.๔.๒ วัตถุประสงค์ของการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
                                                                        ๒๘

                                       วัตถุประสงค์หลักของการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบ่งเป็น ๓ ประการ ได้แก  ่
                                                                                 ื่
                                        ๑) การใช้เพอการควบคุม (Detention) เป็นการใช้เพอประโยชน์ในการควบคุมตัวใน
                                               ื่
                 สถานที่ที่ก าหนด ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
                                                                                   ื่
                                        ๒) การใช้เพื่อเป็นการจ ากัด (Restriction) เป็นการใช้เพอจ ากัดมิให้บุคคลเข้าไปในเขต
                 พื้นที่ที่ก าหนดหรือเข้าถึงตัวบุคคลที่ก าหนด เช่น โจทก์ เหยื่อ หรือผู้กระท าความผิดที่เป็นคู่คดี

                                               ื่
                                        ๓) การใช้เพอการสังเกตเฝ้าระวัง (Surveillance) เป็นการใช้เพอให้เจ้าหน้าที่สามารถ
                                                                                         ื่
                 ติดตามความเคลื่อนไหวของบุคคลได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง

                           ๒.๔.๓ แนวคิดเกี่ยวกับการน าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับผู้กระท าความผิด

                                   การน าระบบควบคุมตัวผู้กระท าความผิดในเรือนจ าหรือที่เรียกว่าระบบเรือนจ ามาใช้เป็น

                                                           ั
                 มาตรการในการลงโทษผู้กระท าความผิดซึ่งมีการพฒนามาเป็นระยะเวลานาน โดยมีความเชื่อว่าการใช้ระบบ
                 เรือนจ าเป็นมาตรการการลงโทษที่ให้ประโยชน์แก่สังคมเนื่องจากกันผู้กระท าความผิดออกจากสังคม แต่เมื่อ

                 เวลาผ่านไปพบว่าผลกระทบของระบบเรือนจ าที่มีต่อสังคมหรือตัวผู้กระท าความผิดเองกลับเป็นผลในทางลบ

                 ก่อให้เกิดปัญหาอนๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความแออดภายในเรือนจ า ปัญหาการถ่ายทอดพฤติกรรม
                                ื่
                                                                   ั
                 อาชญากรจากผู้ต้องขังภายในเรือนจ า ปัญหาข้อจ ากัดด้านทรัพยากรของเรือนจ า ปัญหาการเรียกร้องด้าน
                 สิทธิมนุษยชน เป็นต้น ในระยะหลังจึงเกิดการตื่นตัวและแสวงหามาตรการใหม่ๆ มาใช้กับผู้กระท าความผิด

                 แทนการใช้วิธีการควบคุมตัวไว้ในเรือนจ าเพียงอย่างเดียว

                                 วิธีการควบคุมผู้กระท าความผิดโดยใช้อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring)
                                                                          ิ
                                                                   ุ
                                                                                     ุ
                 เป็นมาตรการหนึ่งในการปฏิบัติต่อผู้กระท าความผิดแทนการใช้ระบบเรือนจ า อปกรณ์ชนิดนี้เกิดขึ้นในช่วง
                 ทศวรรษที่ ๑๙๖๐ - ๑๙๗๐ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการคิดค้นของ Dr.Ralph Schwitzgebel คณะกรรมการการ

                 ทดลองด้านจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ซึ่งต้องการประดิษฐ์อปกรณ์ที่มีราคาไม่แพงและสามารถใช้
                                                                            ุ
                 เป็นทางเลือกส าหรับผู้กระท าความผิดอันจะมีประโยชน์ต่อบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมและ




                                                                                        ้
                                                                                         ั
                                                                                            ู้
                                                                                             ู
                              ั
                         ๒๘   วิชย ลีลาสวัสดิ. การน าเครองมือตดตามตว (Electronic Monitoring) มาใชกบผถกคมความ
                                                                                               ุ
                                                      ิ
                                                            ั
                                       ์
                                                 ื่
                 ประพฤตในศาลแขวงพระนครเหนือ [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๙.
                        ิ
                 http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp๒๕๕๗_๑๓_๑๓.pdf.
   510   511   512   513   514   515   516   517   518   519   520