Page 112 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 112

ั
            เขตอำนาจศาลขึ้นมา ในขณะที่กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิ  ศาลปกครอง ประกอบกบเจตนารมณ์ของพระราชบัญญต    ิ
                                                                               ั

            โจทก์ในการโต้แย้งเขตอำนาจศาล ตามมาตรา ๑๐  ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            วรรคหนึ่ง และศาลที่รับฟ้องเห็นพ้องด้วยกับฝ่ายโจทก์  พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ให้สิทธิคู่ความ
            หากตีความว่าเป็นกรณีตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม  ฝ่ายที่ถูกฟ้องคดีในการโต้แย้งเขตอำนาจศาล แต่ไม่ได้

            ก็อาจจะเป็นบรรทัดฐานได้ว่า โจทก์สามารถโต้แย้ง  ให้สิทธิโจทก์ เพราะการที่โจทก์ฟ้องคดีที่ศาลนี้ก็เท่ากับ
            เขตอำนาจศาลที่ตนยื่นฟ้อง โดยมีข้อสังเกตดังนี้  ๕  เป็นการยอมรับเขตอำนาจศาลของศาลยุติธรรมนี้

                   ๑. ข้อเท็จจริงของคดีนี้ ศาลจังหวัดมหาสารคาม  หากโจทก์เปลี่ยนใจภายหลัง ก็ควรที่จะถอนฟ้อง

            มีความเห็นพ้องด้วยกับคำแถลงเรื่องเขตอำนาจศาล  แล้วไปยื่นฟ้องเป็นคดีใหม่ที่ศาลปกครอง
            ของโจทก์ และมีความเห็นว่าไม่ใช่คดีที่อยู่ในอำนาจ        ๒. คดีนี้หากคณะกรรมการตีความว่า

            พิจารณาพิพากษาของศาลตนเอง จึงส่งคดีไปยัง  เป็นกรณีศาลเห็นเองเรื่องเขตอำนาจศาล เท่ากับว่า

            ศาลปกครองขอนแก่นเพื่อทำความเห็น ซึ่งหากพิจารณา  ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของตัวบทกฎหมาย
            เทียบเคียงแนวคำวินิจฉัยที่ผ่านมากรณีที่จำเลย  ซึ่งจะต้องเป็นกรณีที่ศาลเป็นผู้เห็นเองโดยธรรมชาติ


            เป็นผู้ยื่นคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาลในคำให้การ  แต่คดีนี้มีคู่ความเป็นผู้ทำให้ศาลเห็นเอง และโดยเฉพาะ
            โดยไม่ได้ทำเป็นคำร้องแยกมาต่างหาก ตามแนว  อย่างยิ่งคู่ความที่ทำให้ศาลเห็นเป็นคู่ความฝ่ายโจทก์

            คำวินิจฉัยของคณะกรรมการ ฯ ไม่เคยรับคดีไว้พิจารณา   ซึ่งเป็นคู่ความที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัย

            เนื่องจากเป็นการไม่ชอบด้วยมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง   ชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่ได้
            แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ  ให้สิทธิในการโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจศาลด้วย

            หน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ในกรณีเช่นนี้ หากจะ         สรุป คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
            ตีความว่าถ้าศาลทำความเห็นเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่  (คำสั่ง) ที่ ๑๑๒/๒๕๖๔ จึงเป็นการวางบรรทัดฐาน

            ระหว่างศาลโดยอ้างว่า เข้ากรณีที่ศาลเป็นผู้เห็นเอง  ในการตีความตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม แห่ง

            ตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย  พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่
            การวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒  ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ กรณีศาลเห็นเองเรื่อง

            ก็จะมีผลเท่ากับว่าข้อโต้แย้งของจำเลยที่อยู่ในคำให้การ  เขตอำนาจศาลว่า การเริ่มกระบวนการวินิจฉัยชี้ขาด

            เป็นเพียงวิธีการชี้ช่องให้ศาล และคู่ความฝ่ายที่โต้แย้ง  อำนาจหน้าที่ระหว่างศาลโดยศาลเห็นเองนั้น จะต้อง
            เขตอำนาจศาล จะไม่ทำคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาล  เป็นกรณีที่ศาลเห็นเองโดยธรรมชาติว่า คดีอยู่ในเขต

            อีกฉบับแยกออกมาต่างหากเพื่อยื่นต่อศาล และ  อำนาจของอีกศาลหนึ่ง ไม่ใช่เกิดจากการชี้ช่องของ

            เป็นการตีความกฎหมายกว้างขึ้นไปอีก               คู่ความให้ศาลเห็นเรื่องเขตอำนาจศาล โดยเฉพาะ
                   สำหรับคดีนี้โจทก์กลับเป็นฝ่ายโต้แย้ง  อย่างยิ่งเมื่อคู่ความนั้นไม่ใช่คู่ความฝ่ายที่ถูกฟ้องหรือ

            เขตอำนาจศาลเอง หากโจทก์เห็นว่าไม่อยู่ในอำนาจ  จำเลยที่กฎหมายให้สิทธิในการโต้แย้งเขตอำนาจศาลไว้
            ศาลยุติธรรม โจทก์ก็ควรถอนฟ้องแล้วไปยื่นฟ้องที่







                    ๕  รายงานการประชุมคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๔ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔





          110    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔

                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116