Page 108 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 108

ศาลทหาร หรือภายในกำหนดระยะเวลายื่นคำให้การ  ต่อศาลว่า คดีนี้อยู่ในอำนาจพิจารณาของศาลปกครอง

            หรือก่อนพ้นระยะเวลาที่ศาลอนุญาตให้ยื่นคำให้การ  ขอให้ศาลยุติธรรมส่งเรื่องให้ศาลปกครองพิจารณา
            เป็นอย่างช้าสำหรับศาลปกครองหรือศาลอื่น ในการนี้  และได้สอบถามจำเลยทั้งสองแล้วจำเลยทั้งสอง


            ศาลที่รับฟ้องอาจรอการพิจารณาไว้ชั่วคราวก็ได้  แถลงรับว่า คดีนี้เกี่ยวกับการกระทำของเจ้าพนักงาน
            และให้จัดทำความเห็นส่งไปให้ศาลที่คู่ความร้องว่า  ที่ดินและกรมที่ดิน จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาของ
            คดีนั้นอยู่ในเขตอำนาจโดยเร็ว ในกรณีเช่นว่านี้  ศาลปกครองเช่นกันเท่านั้น กรณีจึงน่าจะเป็นการจัดทำ

            ให้ศาลที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้... และข้อบังคับ  ความเห็นเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ไม่


            คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล  เป็นไปตามหลักเกณฑ์ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง

            ว่าด้วยวิธีการเสนอเรื่อง การพิจารณาและวินิจฉัย  แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยอำนาจหน้าที่
            พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๒ กำหนดว่า คำร้องต้องทำเป็น  ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง

            หนังสือ... แต่คดีนี้ไม่ปรากฏว่า จำเลยทั้งสองซึ่งเป็น  ประกอบกับข้อ ๑๒ ของข้อบังคับคณะกรรมการ
            คู่ความฝ่ายที่ถูกฟ้องได้ยื่นคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาล  วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ว่าด้วยวิธีการ

            เป็นหนังสือต่อศาลยุติธรรมแต่อย่างใด โดยเพียงแต่  เสนอเรื่อง การพิจารณาและวินิจฉัย พ.ศ. ๒๕๔๔
            ปรากฏตามรายงานกระบวนพิจารณาของศาลยุติธรรม  (เทียบเคียงได้กับคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่

                                                                                             ๓
            ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๔ ว่า ก่อนเริ่มสืบพยาน   ระหว่างศาล (คำสั่ง) ที่ ๔๒/๒๕๕๔  และ (คำสั่ง)
                                                                        ๔
            โจทก์ทั้งสองซึ่งมิใช่คู่ความฝ่ายที่ถูกฟ้องได้แถลง  ที่ ๖๕/๒๕๕๖  )



                    ๓  คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล (คำสั่ง) ที่ ๔๒/๒๕๕๔
                      คดีที่เอกชนยื่นฟ้องเอกชนด้วยกันรวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ ขอให้เพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกให้แก่จำเลยที่ ๓ และให้เพิกถอน
            คำสั่งของจำเลยที่ ๑ ที่ยกเลิกคำขอออกโฉนดที่ดินของโจทก์ และให้จำเลยที่ ๑ ออกโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ หรือหากศาลไม่เพิกถอนให้จำเลย
            ทั้งสามร่วมกันใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ย ศาลจังหวัดกระบี่ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เนื่องจากไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
            และยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ ๓ เนื่องจากที่ดินแปลงที่ออกโฉนดให้แก่จำเลยที่ ๓ เป็นที่ดินคนละแปลง และหรืออยู่คนละแห่งกับที่ดิน
            ของโจทก์ โจทก์อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค ๘ มีคำพิพากษาโดยวินิจฉัยว่า จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ให้การต่อสู้คดีว่า คดีอยู่ในอำนาจของศาลปกครอง
            คดีมีประเด็นโต้แย้งเกี่ยวกับเขตอำนาจระหว่างศาลยุติธรรมและศาลปกครอง ชอบที่ศาลชั้นต้นจะดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วย
            การวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ เสียก่อน จึงพิพากษายกคำพิพากษาของศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นดำเนิน
            กระบวนพิจารณาใหม่ และมีคำสั่งใหม่ตามรูปคดี ศาลจังหวัดกระบี่ได้สอบถามโจทก์ โจทก์แถลงว่าไม่เคยฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครองมาก่อน
            และทำความเห็นเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลว่าคดีอยู่ในเขตอำนาจของศาลยุติธรรม ส่วนศาลปกครองเห็นว่า เป็นคดีอยู่ในเขตอำนาจ
            ของศาลปกครองแล้วส่งเรื่องมายังคณะกรรมการโดยที่จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไม่ได้ยื่นคำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาล เห็นว่า คดีนี้จำเลยที่ ๑
            และที่ ๒ โต้แย้งเขตอำนาจศาลไว้ในคำให้การ โดยไม่ได้จัดทำเป็นคำร้องยื่นเป็นหนังสือต่อศาลเป็นการเฉพาะ คำให้การดังกล่าวเป็นเพียง
            ข้อต่อสู้คดีของจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เท่านั้น หาใช่คำร้องโต้แย้งเขตอำนาจศาล ตามความในกฎหมายไม่ จึงเป็นการโต้แย้งเขตอำนาจศาล
            ที่ไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง และข้อบังคับคณะกรรมการ
            ข้อ ๑๒ และ ๒๙ ส่วนในกรณีที่ศาลจังหวัดกระบี่ทำความเห็นเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลนั้น ก็ไม่อาจถือว่าเป็นกรณีศาลเห็นเอง
            ตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม เนื่องจากกรณีที่ศาลเห็นเองนั้น ต้องเป็นกรณีที่ศาลเห็นเองว่า อยู่ในอำนาจของศาลอื่น เมื่อข้อเท็จจริงในคดีนี้
            ปรากฏว่าศาลจังหวัดกระบี่เพียงแต่สอบถามโจทก์ และโจทก์แถลงว่าไม่เคยฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครองมาก่อน จึงทำความเห็นว่า คดีอยู่ใน
            เขตอำนาจของศาลยุติธรรม กรณีจึงยังไม่ต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐
            วรรคสาม เช่นกัน ให้จำหน่ายเรื่องออกจากสารบบความ
                    ๔  คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล (คำสั่ง) ที่ ๖๕/๒๕๕๖
                      คดีที่เอกชนยื่นฟ้องผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์การบริหารส่วนตำบล และนายอำเภอเรื่องที่ดิน โดยจำเลยให้การโต้แย้งเขตอำนาจศาล





          106    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔
                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113