Page 42 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 42
สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ย่อคำวินิจฉัย: คดีที่มีประเด็นเกี่ยวข้องกับศาลทรัพย์สินทางปัญญา
และการค้าระหว่างประเทศ ๑
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ที่ ๑๓๑/๒๕๖๓
คดีที่ อัยการศาลมณฑลทหารบกที่ ๔๕ ยื่นฟ้อง
พลทหาร บ. จำเลย ซึ่งเป็นทหารกองประจำการ
สังกัดกองพันเสนารักษ์ที่ ๘ กองพลทหารม้าที่ ๑
กองทัพบก ว่าได้กระทำความผิดอาญาฐานมีไว้
เพื่อจำหน่ายและเสนอจำหน่ายซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมาย
การค้าปลอมเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นที่ได้
จดทะเบียนไว้แล้วในราชอาณาจักร ขอให้ลงโทษ
ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘
มาตรา ๑๐๘, ๑๑๐, ๑๑๕ มีปัญหาต้องวินิจฉัยว่า ใช้บังคับ มีการตราพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สิน
คดีนี้อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลทหาร ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศและวิธีพิจารณา
หรือศาลยุติธรรม เห็นว่า หลักการพิจารณาเขตอำนาจ คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
ของศาลทหารในเวลาปกติที่ยึดหลักเขตอำนาจศาล พ.ศ. ๒๕๓๙ มีเจตนารมณ์ให้คดีทรัพย์สินทางปัญญา
เหนือตัวบุคคลผู้กระทำผิด ซึ่งหากปรากฏว่าจำเลย และการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นคดีที่มีลักษณะพิเศษ
เป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ตามมาตรา ๑๖ แตกต่างจากคดีอาญาและคดีแพ่งทั่วไป ได้รับการ
แห่งพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ พิจารณาโดยผู้พิพากษาที่มีความรู้และความเข้าใจ
ในขณะกระทำความผิดอาญาจะเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจ ในเรื่องเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาและการค้า
ของศาลทหารตามมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติ ระหว่างประเทศ โดยมีบุคคลภายนอกที่มีความรู้
ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ นั้น เป็นหลัก และความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวเข้ามาร่วมพิจารณา
การพิจารณาเขตอำนาจศาลทหารในกรณีที่มีการฟ้อง และพิพากษาคดีด้วยตามเหตุผลท้ายพระราชบัญญัติ
ว่าจำเลยกระทำความผิดอาญาทั่วไป ที่มิได้มีกฎหมาย ดังกล่าว โดยมาตรา ๗ บัญญัติว่า “ศาลทรัพย์สิน
บัญญัติให้คดีอาญานั้น อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศมีอำนาจพิจารณา
ของศาลอื่นใดโดยเฉพาะ เมื่อปรากฏว่า ภายหลังจาก พิพากษาคดีดังต่อไปนี้ (๑) คดีอาญาเกี่ยวกับ
๑ จัดทำโดยสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
40 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล