Page 44 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 44
พิพากษาคดีอาญาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์
และสิทธิบัตร เมื่อคดีนี้ โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยซึ่งแม้
จะเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารในขณะกระทำ
ความผิด แต่เมื่อโจทก์ยื่นฟ้องว่าจำเลยกระทำความผิด
อาญาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าโดยมีคำขอให้ลงโทษ
จำเลยฐานมีไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมาย
การค้าปลอมเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นที่ได้
จดทะเบียนไว้แล้วในราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัต ิ
เครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ ซึ่ง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและ
การค้าระหว่างประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สิน
ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๗ บัญญัติให้อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา
ของศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่าง
ประเทศโดยเฉพาะศาลทหารจึงไม่มีอำนาจพิจารณา
พิพากษาคดีนี้
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ที่ ๙/๒๕๔๖
คดีที่เอกชนยื่นฟ้องโต้แย้งคำสั่งของนายทะเบียน
เครื่องหมายการค้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรณี
ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ โดยมีบุคคล ไม่รับจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าซึ่งถือเป็นคำสั่ง
ภายนอกที่มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ทางปกครอง การโต้แย้งคำสั่งดังกล่าวจึงเป็นการโต้แย้ง
เข้ามาร่วมพิจารณาและพิพากษาคดีด้วยตามเหตุผล คำสั่งทางปกครอง แต่การโต้แย้งคำสั่งของนายทะเบียน
ท้ายพระราชบัญญัติดังกล่าว โดยมาตรา ๗ บัญญัติว่า เครื่องหมายการค้าเกี่ยวกับสิทธิในเครื่องหมาย
“ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ การค้านั้น ถือเป็นคดีแพ่งเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีดังต่อไปนี้ (๑) คดีอาญา อันเป็นข้อยกเว้นของหลักการเกี่ยวกับคดีปกครอง
เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร” โดยทั่วไป ทั้งนี้ เพื่อให้การพิจารณาคดีเกี่ยวกับสิทธิ
อันเป็นกรณีที่กฎหมายกำหนดศาลที่มีอำนาจพิจารณา ในเครื่องหมายการค้าของบุคคลได้รับการตรวจสอบ
พิพากษาคดีประเภทหนึ่งประเภทใดไว้โดยเฉพาะ จากศาลชำนัญพิเศษ คดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณา
และเป็นบทบัญญัติที่ตัดอำนาจศาลอื่นไม่ให้พิจารณา พิพากษาของศาลยุติธรรม
42 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล