Page 43 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 43
เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร” อันเป็น กองทัพบก ว่าได้กระทำความผิดอาญาฐานมีไว้
กรณีที่กฎหมายกำหนดศาลที่มีอำนาจพิจารณา เพื่อจำหน่ายซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าปลอม
พิพากษาคดีประเภทหนึ่งประเภทใดไว้โดยเฉพาะ เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว
และเป็นบทบัญญัติที่ตัดอำนาจศาลอื่นไม่ให้พิจารณา ในราชอาณาจักร ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติ
พิพากษาคดีอาญาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ มีปัญหา
ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร เมื่อคดีนี้โจทก์ยื่นฟ้องจำเลย ต้องวินิจฉัยว่าคดีนี้อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา
ซึ่งแม้จะเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารในขณะ ของศาลทหารหรือศาลยุติธรรม เห็นว่า หลักการ
กระทำความผิด แต่เมื่อโจทก์ยื่นฟ้องว่าจำเลยกระทำ พิจารณาเขตอำนาจของศาลทหารในเวลาปกติ
ความผิดอาญาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าโดยมีคำขอ ที่ยึดหลักเขตอำนาจศาลเหนือตัวบุคคลผู้กระทำผิด
ให้ลงโทษจำเลยฐานมีไว้เพื่อจำหน่ายและเสนอ หากปรากฏว่าจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร
จำหน่ายซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าปลอม ตามมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร
เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว พ.ศ. ๒๔๙๘ ในขณะกระทำความผิดอาญา จะเป็นคดี
ในราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติเครื่องหมาย ที่อยู่ในอำนาจของศาลทหารตามมาตรา ๑๓ แห่ง
การค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๑๐, ๑๑๕ พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ นั้น
ซึ่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญา เป็นหลักการพิจารณาเขตอำนาจศาลทหารในกรณีที่มี
และการค้าระหว่างประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สิน การฟ้องว่าจำเลยกระทำความผิดอาญาทั่วไป ที่มิได้
ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีกฎหมายบัญญัติให้คดีอาญานั้นอยู่ในอำนาจพิจารณา
มาตรา ๗ บัญญัติให้อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ พิพากษาของศาลอื่นใดโดยเฉพาะ เมื่อปรากฏว่า
ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ภายหลังจากพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร
โดยเฉพาะ คดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา พ.ศ. ๒๔๙๘ ใช้บังคับ มีการตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ของศาลยุติธรรม ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้า
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งมีเจตนารมณ์ให้
ที่ ๔๘/๒๕๖๓ คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
อัยการศาลทหารกรุงเทพ ยื่นฟ้อง พลทหาร ซึ่งเป็นคดีที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากคดีอาญา
ณ. จำเลย ซึ่งเป็นทหารกองประจำการ สังกัด กองพัน และคดีแพ่งทั่วไป ได้รับการพิจารณาโดยผู้พิพากษา
ทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๔ กองพลทหารราบที่ ๔ ที่มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 41
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล