Page 46 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 46
เงินอากรจากสัมปทานรังนกตามมาตรา ๒๑ แห่ง เพิกถอนการประเมินภาษีธุรกิจเฉพาะและภาษีมูลค่าเพิ่ม
พระราชบัญญัติอากรรังนกอีแอ่น พ.ศ. ๒๕๔๐ และคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
กับห้างหุ้นส่วนจำกัด ญ. ซึ่งเป็นเอกชนที่ได้รับสัมปทาน และศาลภาษีอากรกลางมีคำพิพากษา ดังนี้
และมีหน้าที่ต้องชำระอากรตามพระราชบัญญัตินี้ คดีแรก การประเมินภาษีธุรกิจเฉพาะของ
เกี่ยวกับการเพิกเฉยไม่ชำระอากรภายในเวลาที่กำหนด เจ้าพนักงานประเมินและคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ
ในสัมปทานหรือชำระไม่ครบถ้วน และโจทก์ได้ใช้สิทธิ พิจารณาอุทธรณ์ชอบแล้ว ซึ่งต่อมาศาลฎีกาพิพากษายืน
เรียกค่าอากรที่ค้างชำระ กรณีจึงเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับ
สิทธิเรียกร้องของรัฐในหนี้ภาษีอากรและเป็นข้อพิพาท
เกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตามข้อผูกพันซึ่งได้ทำขึ้น
เพื่อประโยชน์แก่การจัดเก็บภาษีอากร อันอยู่ในอำนาจ
พิจารณาพิพากษาของศาลภาษีอากร ตามพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร
มาตรา ๗ (๒) และ (๔) และเป็นข้อยกเว้นเขตอำนาจ
พิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ตามมาตรา ๙
วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ คดีที่สอง การประเมินภาษีมูลค่าเพิ่ม
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้อพิพาทระหว่าง ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้เพิกถอนการแจ้ง
โจทก์กับจำเลยซึ่งค้ำประกันการชำระเงินอากรของ การประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มและคำวินิจฉัยอุทธรณ์
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ญ. อันเป็นหนี้อุปกรณ์ จึงอยู่ในอำนาจ เนื่องจากหนังสือการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้
พิจารณาพิพากษาของศาลภาษีอากรด้วยเช่นกัน ระบุวัน เดือนและปี ทำคำสั่ง จึงเป็นคำสั่งทางปกครอง
คดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม ที่ไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๖ และเมื่อหนังสือ
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล แจ้งการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าวเป็นคำสั่ง
ที่ ๑๔๑/๒๕๖๐ ทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย กระบวนการ
คดีที่ผู้ฟ้องคดีเป็นเอกชนยื่นฟ้องกรมสรรพากร พิจารณาในชั้นอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณา
ที่ ๑ สรรพากรเขตพื้นที่นครปฐม ๒ ที่ ๒ ผู้ถูกฟ้องคดี อุทธรณ์ย่อมเสียไปทั้งหมด
ขอให้ศาลพิพากษาหรือมีคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสอง ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าโดยผลของคำพิพากษา
ดำเนินการพิจารณาประเมินภาษีธุรกิจเฉพาะใหม่ ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองต้องดำเนินการเพิกถอนการยึด
ตามมาตรา ๕๔ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ หรืออายัดทรัพย์สินของผู้ฟ้องคดีที่ยึดไว้ในคดีทั้งสอง
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และพิจารณาดำเนินการ เท่าที่เพียงพอแก่การชำระหนี้ตามคำพิพากษา
เพิกถอนคำสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินและมีคำสั่งใหม่ ศาลภาษีอากรกลางเท่านั้น โดยไม่มีสิทธิที่จะยึด
ภายในเวลาที่ศาลกำหนดกับให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสอง หรืออายัดไว้ทั้งหมด อีกทั้งการประเมินภาษีธุรกิจเฉพาะ
ชดใช้ค่าเสียหาย โดยข้อเท็จจริงในคดีนี้สืบเนื่องจาก ซึ่งมีรูปแบบและกระบวนการพิจารณาเช่นเดียวกัน
ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นฟ้องต่อศาลภาษีอากรกลาง ขอให้ กับภาษีมูลค่าเพิ่มย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมายเช่นกัน
44 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล