Page 48 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 48

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล          คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
            ที่ ๑๒๕/๒๕๕๖                                    ที่ ๘๒/๒๕๕๖

                   เอกชนเจ้าของรถยนต์ (แท็กซี่) ได้รับความ          เอกชนผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องดื่มน้ำอัดลม

            เดือดร้อนเสียหายจากการถูกกรมการขนส่งทางบก   ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการถูกกรมสรรพสามิต

            ไม่ยอมจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในใบคู่มือ  ออกประกาศกำหนดมูลค่าเครื่องดื่มเพื่อถือเป็นเกณฑ์
            จดทะเบียนรถยนต์ (แท็กซี่) ให้ โดยอ้างว่า โจทก์ไม่ใช่  ในการคำนวณภาษีทำให้โจทก์ต้องเสียภาษีเพิ่มขึ้น

            ผู้มีกรรมสิทธิ์ เพราะเป็นทรัพย์มรดกของผู้มีชื่อ  จึงฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศและคำวินิจฉัยอุทธรณ์
            ต้องให้ทายาทของผู้มีชื่อดำเนินการ ขอให้มีคำสั่ง  และให้กำหนดราคาที่เป็นฐานในการคำนวณภาษีใหม่

            หรือคำพิพากษาให้จำเลยทั้งสองจดทะเบียน  เห็นว่า ประกาศกรมสรรพสามิตฉบับพิพาท เป็นการ

            เปลี่ยนแปลงชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในสมุดคู่มือจดทะเบียน  กำหนดมูลค่าเครื่องดื่มของโจทก์เพื่อถือเป็นเกณฑ์
            มาเป็นชื่อโจทก์ หรือตามคำสั่งของโจทก์ และให้จำเลย  ในการคำนวณภาษี โดยอาศัยอำนาจตามความ

            ทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย  ในมาตรา ๘ (๑) วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ

            กับค่าขาดประโยชน์ เห็นว่า การจดทะเบียนรถยนต์  ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดย
            ไม่ใช่หลักฐานแห่งกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายในอันที่  พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

            จะเป็นการรับรองคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินของบุคคล  ซึ่งมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต

            แต่อย่างใด เป็นเพียงหลักฐานที่กำหนดขึ้นเพื่อ  พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับฐาน
            ความสะดวกในการควบคุมการใช้รถและการเสียภาษี  ในการคำนวณภาษีสรรพสามิตตามมูลค่า จึงเกี่ยวข้อง

            ของเจ้าพนักงานเท่านั้น ซึ่งในการจดทะเบียนรถยนต์  โดยตรงกับฐานภาษีสรรพสามิต และแม้ประกาศ
            นายทะเบียนจะต้องดำเนินการไปตามกฎหมายและ  ฉบับพิพาทจะเป็นคำสั่งทางปกครองก็ตาม แต่ก็เพื่อ

            ระเบียบที่เกี่ยวข้องอันเป็นการใช้อำนาจทางปกครอง   กำหนดฐานภาษี อันเป็นผลสืบเนื่องจากการวินิจฉัย

            เมื่อคดีนี้ไม่มีประเด็นพิพาทเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์  ของเจ้าพนักงานที่เห็นว่าราคาขายที่โจทก์แจ้งไว้
            ในรถยนต์พิพาทระหว่างโจทก์กับทายาทของผู้มีชื่อ   เป็นราคาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่มีเหตุอันสมควร จึงได้

            ข้อพิพาทในคดีนี้จึงมีเพียงประเด็นเรื่องการปฏิบัติ  ออกเป็นประกาศฉบับใหม่ ซึ่งมีผลเช่นเดียวกันกับ
            หน้าที่ของนายทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์  การประเมินภาษี จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน

            ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ในสังกัดจำเลยที่ ๑ ว่ากระทำการ  ภาษีในรูปแบบหนึ่ง เมื่อโจทก์เห็นว่าประกาศดังกล่าว

            โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและเป็นละเมิดต่อโจทก์  มิชอบด้วยกฎหมาย จึงฟ้องขอให้เพิกถอนย่อมเป็น
            หรือไม่ คดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิด  การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานตามกฎหมาย

            ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ  เกี่ยวกับภาษีอากร เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณา

            อันเกิดจากการใช้อำนาจตามกฎหมาย ตามมาตรา ๙  พิพากษาของศาลภาษีอากรตามมาตรา ๗ (๑) แห่ง
            วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง  พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดี

            และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อันอยู่ใน  ภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ คดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณา

            อำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง                 พิพากษาของศาลยุติธรรม







           46    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔
                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53