Page 52 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 52

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล          พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ คดีระหว่างโจทก์

            ที่ ๒๖/๒๕๔๙                                     กับจำเลยในคดีนี้จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา
                   คดีที่เทศบาลตำบลเกาะสมุยยื่นฟ้องเอกชน  ของศาลยุติธรรม

            ผู้ค้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญาเช่าสะพาน ท่าเทียบเรือ

            เกาะสมุยระหว่างบริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน) กับโจทก์  คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            ให้ชำระหนี้เมื่อบริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน) ผิดนัด   ที่ ๑๖/๒๕๔๙

            จำเลยให้การว่า โจทก์ยังไม่ได้บอกเลิกสัญญากับผู้เช่า      คดีที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ

            สัญญาระหว่างโจทก์กับบริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน)  สถาบันการเงินยื่นฟ้องเอกชนในฐานะผู้ค้ำประกัน
            ยังไม่เลิกกัน โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลย และโจทก์  ข้อตกลงให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัท

            ไม่ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้และพิสูจน์หนี้ต่อ  เงินทุนหลักทรัพย์ อ. ในช่วงวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ

            เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในคดีที่บริษัท ฟ. จำกัด  ของประเทศปี พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยจำเลยทำสัญญา

            (มหาชน) ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย จึงไม่เกิด  ค้ำประกันภาระหนี้สินของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ อ.
            สิทธิตามกฎหมาย ไม่มีอำนาจฟ้องเรียกร้องเอาจาก  ทั้งที่มีอยู่ในขณะทำสัญญาหรือที่จะมีขึ้นในอนาคต

            จำเลย เมื่อบริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นคู่สัญญา  เมื่อบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ อ. ถูกปิดกิจการ โจทก์

            เช่าท่าเทียบเรือ จากโจทก์ที่เป็นสัญญาหลัก ได้เข้าสู่  ได้รับชำระหนี้แล้วบางส่วน จึงขอให้จำเลยชำระหนี้
            กระบวนการพิจารณาของศาลล้มละลายจนศาล  ที่เหลือตามสัญญาค้ำประกันแก่โจทก์ วัตถุประสงค์

            มีคำพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว สัญญาค้ำประกัน  ในการจัดตั้งโจทก์เพื่อทำหน้าที่เป็นกลไกของรัฐ


            ที่จำเลยทำไว้กับโจทก์เพื่อค้ำประกันการเช่าดังกล่าว  ในการดำเนินการเพื่อฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบัน
            จำเลยยอมตนเข้าค้ำประกันเป็นไปตามความสมัครใจ  การเงินที่อยู่ในกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย

            ของจำเลย เป็นการเข้าทำสัญญาภายใต้หลักเสรีภาพ  ให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ ตามมาตรา ๒๙ ตรี

            ของการทำสัญญาทางแพ่ง มีลักษณะเป็นสัญญา  แห่งพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ
            ทางแพ่งโดยแท้และมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิด  ธนาคารแห่งประเทศไทยฯ และยังมีอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ

            ต่อโจทก์ หากบริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน) มีกรณี  ตลอดทั้งอำนาจที่จะลงทุนและดำเนินธุรกรรม

            ที่ต้องรับผิดต่อโจทก์ และเชื่อมโยงกับการที่บริษัท   ในกิจการต่าง ๆ อาทิ ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง

            ฟ. จำกัด (มหาชน) ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย  ซื้อขาย เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม รับจำนำ

            การที่โจทก์มิได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีที่  รับจำนอง ให้กู้ยืมเงิน ค้ำประกัน รับอาวัล ฯลฯ

            บริษัท ฟ. จำกัด (มหาชน) ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย  ตามมาตรา ๒๙ อัฏฐ แห่งพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม

            และจำเลยให้การต่อสู้ว่าเป็นเหตุให้โจทก์ไม่มีสิทธิ  พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทยฯ การดำเนิน

            ได้รับชำระหนี้ ทำให้ไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยนั้น   กิจการของโจทก์จึงมีทั้งการใช้อำนาจทางปกครอง
            เป็นประเด็นที่ต้องวินิจฉัยตามพระราชบัญญัติ  และการใช้อำนาจในการทำธุรกรรมทางแพ่งทั่วไป

            ล้มละลาย ซึ่งอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ  นิติสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ อ.
            ศาลล้มละลาย จึงไม่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา  ในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินและคิดค่าตอบแทน

            ของศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๓)  เป็นดอกเบี้ยเป็นการดำเนินกิจการในการทำธุรกรรม






           50    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔

                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57