Page 56 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 56

ให้กับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มิได้เกิดจากการใช้อำนาจ  คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            ทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครองตามที่  ที่ ๓๘/๒๕๖๒
            ได้รับมอบหมายจากรัฐ การกระทำของจำเลยที่ ๒               แม้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ผู้ฟ้องคดี จะเป็น

            และที่ ๓ ในการทำสัญญาดังกล่าว จึงไม่ทำให้ตน  รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติการไฟฟ้า
            มีฐานะเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจ  ส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบ

            ทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครองอันจะ  กิจการจำหน่ายพลังงานไฟฟ้าโดยรัฐเป็นเจ้าของ

            ถือว่าเป็นหน่วยงานทางปกครอง สัญญาจ้างครูผู้สอน  กิจการ จึงเป็นหน่วยงานทางปกครอง ตามมาตรา ๓
            ในคดีนี้จึงไม่ครบองค์ประกอบของสัญญาทางปกครอง  แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา

            ตามบทนิยามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง  คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่เนื้อหาในคดีนี้เป็น

            ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒  กรณีที่ผู้ฟ้องคดีฟ้องให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓
            ข้อพิพาทในคดีนี้จึงมิใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา  ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของผู้ฟ้องคดี ให้รับผิดชดใช้เงิน
            ทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่ง  อันเนื่องมาจากการกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ตาม


            พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา  พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
            คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่จะอยู่ในอำนาจพิจารณา  พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยก่อนยื่นฟ้อง ผู้ฟ้องคดีได้ออกคำสั่ง

            พิพากษาของศาลปกครอง แต่เป็นนิติสัมพันธ์ที่โจทก์  ให้ชดใช้เงินดังกล่าวและผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓

            ตกลงจะทำงานให้จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ และจำเลยที่ ๒  รับทราบแล้วแต่ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสามเพิกเฉย เมื่อมูลเหตุ

            และที่ ๓ ตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้  ในการออกคำสั่งให้ชดใช้เงินดังกล่าวสืบเนื่องมาจาก

            สัญญาพิพาทจึงมีลักษณะเป็นสัญญาจ้างแรงงาน   การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ
            ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๗๕  ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงกรณีไม่ปฏิบัติหน้าที่

            และคู่สัญญาจึงอยู่ในฐานะลูกจ้างนายจ้าง ตามบทบัญญัติ  ให้เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
            ดังกล่าว เมื่อโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสาม  หรือข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง อันถือได้ว่า

            จ่ายเงินบำนาญโดยกล่าวอ้างว่ามีสิทธิตามสัญญา  เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ฟ้องคดี ทั้งผู้ฟ้องคดีใช้สิทธิ

            และระเบียบ กรณีจึงเป็นข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือ  ทางศาลเพื่อบังคับให้ผู้ถูกฟ้องคดีชดใช้ค่าสินไหม
            หน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลง  ทดแทนอย่างเอกชนทั่วไป กรณีจึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ

            เกี่ยวกับสภาพการจ้างตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง  การเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจาก
            ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒  มูลละเมิดซึ่งอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ

            มาตรา ๘ (๑) ซึ่งเป็นคดีแรงงานที่อยู่ในอำนาจพิจารณา  ศาลยุติธรรม ข้อพิพาทระหว่างผู้ฟ้องคดีกับผู้ถูกฟ้องคดี
            พิพากษาของศาลยุติธรรม และเป็นคดีพิพาทที่ได้รับ  ที่ ๔ ถึงที่ ๘ ซึ่งเป็นเอกชน เกี่ยวกับการชำระหนี้

            การยกเว้นไม่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง ตามมาตรา ๙  ตามสัญญาค้ำประกันการทำงานดังกล่าวอันเป็น

            วรรคสอง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง  หนี้อุปกรณ์ จึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ
            และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒               ศาลยุติธรรมด้วยเช่นกัน













           54    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔
                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61