Page 60 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 60

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            ที่ ๗๓/๒๕๕๕
                   คดีที่โจทก์ทั้งเก้าสิบสามซึ่งเป็นเอกชนฟ้องว่า

            สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพ
            ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำเลย ไม่ปรับ

            เงินเดือนขึ้นให้ตามมติคณะรัฐมนตรีที่ให้ปรับอัตรา
            ค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจ อันเป็นการไม่ปฏิบัต  ิ

            ตามข้อตกลง ขอให้บังคับจำเลยปรับขึ้นเงินเดือนให้

            จำเลยให้การว่า โจทก์ทั้งเก้าสิบสามไม่ใช่พนักงาน
            ลูกจ้าง ประเภทที่จะได้รับการปรับค่าจ้าง เห็นว่า  ซึ่งเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญา

            แต่เดิมโจทก์ทั้งเก้าสิบสามเป็นลูกจ้างขององค์การค้า  จ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
            ของคุรุสภา ต่อมาได้โอนไปอยู่ในสังกัดของจำเลย  และเป็นคดีเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมาย

            ซึ่งก็ยังคงมีวัตถุประสงค์และภารกิจเช่นเดิม การดำเนิน  ว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ ตามพระราชบัญญัติ
            กิจการขององค์การค้าของคุรุสภาดำเนินกิจการ  จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒

            เช่นเดียวกันกับเอกชน ซึ่งเป็นการประกอบกิจการ  มาตรา ๘ (๑) และ (๒) คดีจึงอยู่ในอำนาจพิจารณา

            เชิงพาณิชยกรรมจนมีกำไร สามารถนำไปจัดสรรให้กับ  พิพากษาของศาลยุติธรรม
            องค์การคุรุสภาได้ นอกจากนี้องค์การค้าของคุรุสภา
            ก็มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานและเคยมีการยื่น  คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

            ข้อเรียกร้องต่อกันจนมีการทำบันทึกข้อตกลงกัน   ที่ ๖๙/๒๕๕๕

            และเมื่อพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร                   คดีที่ผู้ฟ้องคดียื่นฟ้องมหาวิทยาลัยเอกชนว่า
            ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มิได้บัญญัติยกเว้น  ได้รับความเสียหายจากกรณีผู้ฟ้องคดี ซึ่งได้รับการ


            การนำพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๑  ว่าจ้างให้เข้าทดลองปฏิบัติงานในตำแหน่งอาจารย์

            พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์  พ.ศ.  ๒๕๑๘  ประจำแล้วถูกเลิกจ้างโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้

            พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์  เพิกถอนการประเมินการทดลองปฏิบัติงาน คำสั่งเลิกจ้าง
            พ.ศ. ๒๕๔๓ และพระราชบัญญัติประกันสังคม  และให้ทำสัญญาจ้างผู้ฟ้องคดีเป็นอาจารย์ประจำ

            พ.ศ. ๒๕๓๓ มาบังคับใช้กับกิจการของจำเลย   โดยไม่มีกำหนดระยะเวลา ส่วนผู้ถูกฟ้องคดีกับพวก

            ทั้งบทบัญญัติตามกฎหมายดังกล่าวก็มิได้บัญญัติ  ให้การในทำนองเดียวกันว่า กระทำการโดยชอบ
            ยกเว้นมิให้นำมาใช้บังคับกับหน่วยงานอื่นใดของรัฐ  ด้วยกฎหมาย กฎ และข้อบังคับแล้ว ขอให้ยกฟ้อง  เห็นว่า

            ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะในลักษณะของจำเลย  สัญญาระหว่างผู้ฟ้องคดีกับผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ มีลักษณะ

            ด้วยแล้ว จำเลยจึงอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย  เป็นสัญญาจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่ง
            ดังกล่าว รวมทั้งโจทก์ทั้งเก้าสิบสามด้วย ดังนั้น  และพาณิชย์ มาตรา ๕๗๕  และเมื่อพิจารณาถึงข้อเท็จจริง

            ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์ทั้งเก้าสิบสามและจำเลย  ตามคำฟ้องที่กล่าวอ้างว่า การเลิกจ้างเป็นการเลิกจ้าง
            จึงมีลักษณะเป็นนายจ้างลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน  ที่ไม่มีการสอบสวนและไม่ได้รับความเห็นชอบ








           58    ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔
                 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65