Page 63 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 63
นิติสัมพันธ์ระหว่างโจทก์ทั้งสองร้อยห้ากับจำเลยที่ ๑ คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
จึงอยู่ในฐานะลูกจ้างกับนายจ้างตามพระราชบัญญัติ ที่ ๑๓/๒๕๕๑
แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ภายใต้ คดีที่พนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ข้อบังคับและระเบียบที่กำหนดความสัมพันธ์หรือ ยื่นฟ้องการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและเจ้าหน้าที่
สภาพการจ้างระหว่างกัน มิใช่ความสัมพันธ์ทาง ในสังกัดว่า โจทก์เป็นพนักงานของจำเลยที่ ๑ มีคุณสมบัติ
กฎหมายมหาชน แต่เป็นความสัมพันธ์ในฐานะลูกจ้าง ที่จะเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น แต่จำเลยที่ ๓ ในฐานะ
กับนายจ้างตามสัญญาจ้างแรงงานในกฎหมายแพ่ง รองผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และจำเลยที่ ๔
ทั่วไป เมื่อโจทก์ทั้งสองร้อยห้าอ้างว่า จำเลยที่ ๑ ในฐานะผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล กำหนด
โดยความเห็นชอบของจำเลยที่ ๒ ออกประกาศ หลักเกณฑ์การประเมินแตกต่างไปจากหลักเกณฑ์
จำเลยที่ ๑ เลิกจ้างโจทก์ทั้งสองร้อยห้าเป็นการเลิกจ้าง ของจำเลยที่ ๑ การกระทำของจำเลยที่ ๓ และที่ ๔
โดยไม่เป็นธรรม จำเลยทั้งสองค้างจ่ายค่าจ้าง ค้างจ่าย และการที่จำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นผู้แทน
เงินพิจารณาผลการปฏิบัติงานการเลื่อนขั้นประจำปี จำเลยที่ ๑ มีอำนาจหน้าที่ออกคำสั่งแต่งตั้งพนักงาน
รวมถึงค่าเสียหายกรณีไม่ได้ปรับเงินขึ้นร้อยละ ๔ ไม่ออกคำสั่งแต่งตั้งเลื่อนระดับให้โจทก์เป็นการ
ตามนโยบายรัฐบาล กรณีจึงเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับสิทธิ ร่วมกันกลั่นแกล้งโจทก์เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วย
หรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลง กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคำสั่งของจำเลยที่ ๑
เกี่ยวกับสภาพการจ้าง และเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วย ขอให้จำเลยที่ ๒ มีคำสั่งแต่งตั้งโจทก์ในระดับที่สูงขึ้น
สิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยแรงงาน เห็นว่า แม้โจทก์ฟ้องคดีโดยกล่าวอ้างว่าได้รับ
รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ ตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๑) ความเดือดร้อนเสียหายจากการที่จำเลยที่ ๑ โดยจำเลย
และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน ที่ ๒ ถึงที่ ๕ กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพิ่มเติม แต่นิติสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ ๑ อยู่ในฐานะ
โดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี ลูกจ้างกับนายจ้างตามพระราชบัญญัติแรงงาน
พิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ภายใต้ข้อบังคับ
อันอยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรม และระเบียบที่กำหนดความสัมพันธ์หรือสภาพการจ้าง
ระหว่างกัน เมื่อเหตุแห่งการฟ้องคดีสืบเนื่องมาจาก
โจทก์ไม่ได้รับแต่งตั้งเลื่อนระดับให้สูงขึ้น ทั้งที่เป็น
ผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน ทำให้ได้รับความเสียหาย
จึงเป็นข้อพิพาทที่เกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญา
จ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
และเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมาย
ว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ตามพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๘ (๑) และ (๒) คดีจึงไม่อยู่ในอำนาจของ
ศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๓) แห่ง
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔ 61
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล