Page 62 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 62
ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างอันสืบเนื่องจากข้อพิพาท จากการไม่คืนหนังสือค้ำประกัน แต่โจทก์ก็ฟ้อง
แรงงานหรือเกี่ยวกับการทำงานตามสัญญาจ้างแรงงาน ขอให้เพิกถอนคำสั่งของจำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๔ ที่มีคำสั่ง
ตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๑) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติ ให้โจทก์รับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลของผู้ประกันตน
จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน ที่เข้าทำการรักษาที่โรงพยาบาลอื่น และให้เพิกถอน
พ.ศ. ๒๕๒๒ คดีจึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา คำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ซึ่งคำสั่งและ
ของศาลยุติธรรม คำวินิจฉัยดังกล่าวนี้ก็ล้วนแล้วแต่เป็นการปฏิบัติ
ตามมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๓๓ ทั้งสิ้น และในมาตรา ๘๗ วรรคสาม
ที่ ๑๑/๒๕๕๓ ก็บัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งว่า ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่พอใจให้
คดีที่โรงพยาบาลยื่นฟ้องสำนักงานประกัน มีสิทธินำคดีไปสู่ศาลแรงงาน คดีจึงมิใช่เป็นข้อพิพาท
สังคม จำเลยที่ ๑ ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโจทก์ตามสัญญา เรื่องสัญญาทางปกครองแต่เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับ
ให้บริการทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติ แรงงาน อันอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ
ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ และเป็นหน่วยงาน ศาลยุติธรรม
ทางปกครอง อันเนื่องมาจากโจทก์ได้รับความเสียหาย
กรณีจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ เจ้าหน้าที่ในสังกัดจำเลย มีคำสั่ง คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ให้โจทก์รับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลของผู้ประกันตน ที่ ๙/๒๕๕๒
ซึ่งมีบัตรประกันสังคมของโรงพยาบาลโจทก์ไปทำการ คดีที่ลูกจ้างยื่นฟ้ององค์การฟอกหนัง
รักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลอื่น โจทก์ยื่นอุทธรณ์คำสั่ง เป็นจำเลยที่ ๑ กระทรวงกลาโหม จำเลยที่ ๒ ว่า จำเลยที่ ๑
ดังกล่าวต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติ โดยความเห็นชอบของจำเลยที่ ๒ ออกประกาศ
ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ แต่คณะกรรมการอุทธรณ์ เลิกจ้างโจทก์ทั้งสองร้อยห้าโดยไม่เป็นธรรมเป็นเหตุให้
ไม่รับอุทธรณ์ เนื่องจากเห็นว่าเป็นการอุทธรณ์คำสั่ง โจทก์ทั้งสองร้อยห้าได้รับความเสียหายเป็นการละเมิด
ที่ให้ปฏิบัติตามสัญญาจ้างให้บริการทางการแพทย ต่อสิทธิของโจทก์ทั้งสองร้อยห้าตามที่กฎหมายว่าด้วย
์
มิใช่การอุทธรณ์คำสั่งซึ่งสั่งการตามพระราชบัญญัติ การคุ้มครองแรงงานบัญญัติไว้ ขอให้บังคับจำเลย
ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เห็นว่าคดีนี้โจทก์และ ทั้งสองจ่ายค่าจ้างค้างจ่าย และให้จ่ายเงินพิจารณา
จำเลยที่ ๑ มีความผูกพันกันตามสัญญาจ้างให้บริการ ผลการปฏิบัติงานการเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
ทางการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม และค่าเสียหายจากการไม่ได้รับการปรับเงินขึ้นร้อยละ ๔
พ.ศ. ๒๕๓๓ ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ตามนโยบายรัฐบาลพร้อมดอกเบี้ย และให้รับโจทก์
ของนายจ้างและลูกจ้างโดยตรง ประกอบกับคู่ความ ทั้งสองร้อยห้ากลับเข้าทำงานในตำแหน่งหน้าที่
ยังโต้เถียงกันอยู่ว่าผู้ประกันตนเป็นลูกจ้างและประสบ และอัตราค่าจ้างที่ได้รับขณะเลิกจ้าง เห็นว่า โจทก์
อันตรายเนื่องจากการทำงานหรือไม่ ซึ่งจะมีผลให้ ทั้งสองร้อยห้าเป็นลูกจ้างจำเลยที่ ๑ ซึ่งเป็นหน่วยงาน
มีสิทธิได้รับเงินทดแทนตามกฎหมาย ศาลจำต้อง ทางปกครอง เมื่อโจทก์ทั้งสองร้อยห้ามีอำนาจเจรจา
วินิจฉัยให้ได้ข้อเท็จจริงดังกล่าวเสียก่อน ทั้งคดีนี้ ต่อรองเกี่ยวกับสภาพการจ้าง การระงับข้อพิพาทแรงงาน
แม้โจทก์จะฟ้องเรียกค่าบริการทางการแพทย์ตาม การนัดหยุดงาน การปิดงาน การงดจ้างและมีการจัดตั้ง
สัญญาจ้างให้บริการทางการแพทย์และเรียกค่าเสียหาย สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การฟอกหนังขึ้นด้วย
60 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล