Page 57 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 57

คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล           เงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาอันเป็นการจัดทำ

               ที่ ๓๗/๒๕๖๒                                      บริการสาธารณะที่ได้รับมอบหมายจากรัฐ นอกเหนือ
                         พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ  จากนี้แล้ว การดำเนินการของโรงเรียนเอกชนย่อมเป็น


               วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙  เรื่องของนิติบุคคลเอกชนที่อยู่ภายใต้ระบบกฎหมาย
               วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา  เอกชนเช่นเดียวกับเอกชนทั่วไป เมื่อโจทก์ทั้งสิบอ้างว่า

               พิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ (๔) คดีพิพาท  จำเลยทั้งสามไม่ขึ้นเงินบำนาญในอัตราร้อยละ ๑๐
               เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง โดยมาตรา ๓ แห่ง  ของเงินบำนาญที่ได้ในเดือนพฤษภาคมให้แก่
               พระราชบัญญัติเดียวกัน ให้นิยามคำว่า “สัญญา  โจทก์ทั้งสิบ และไม่จ่ายค่าชดเชยตามระเบียบกระทรวง

               ทางปกครอง” หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญา  ศึกษาธิการ อันเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
               อย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครอง  นิติสัมพันธ์ระหว่างโจทก์ทั้งสิบกับจำเลยทั้งสาม

               หรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐและมีลักษณะ  ในการจัดทำสัญญาว่าจ้างโจทก์ทั้งสิบเป็นลูกจ้าง
               เป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ  ในตำแหน่งครูเพื่อทำงานให้กับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓

               หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์  มิได้เกิดจากการใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนิน
               จากทรัพยากรธรรมชาติ และนิยามคำว่า “หน่วยงาน  กิจการทางปกครอง ตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐ


               ทางปกครอง” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม  การกระทำของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ในการทำสัญญา

               ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม  ดังกล่าว จึงไม่ทำให้ตนมีฐานะเป็นหน่วยงานที่ได้รับ
               ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ  มอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือดำเนินกิจการ

               ที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา   ทางปกครองอันจะถือว่าเป็นหน่วยงานทางปกครอง
               หรือหน่วยงานอื่นของรัฐและให้หมายความรวมถึง  สัญญาจ้างครูผู้สอนในคดีนี้จึงไม่ครบองค์ประกอบ

               หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครอง  ของสัญญาทางปกครอง ตามบทนิยามมาตรา ๓

               หรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง คดีนี้ โรงเรียน อ.  แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา

               แผนกประถม จำเลยที่ ๒ และโรงเรียน อ. จำเลยที่ ๓  คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้อพิพาทในคดีนี้จึงมิใช่

               เป็นโรงเรียนเอกชนในระบบที่จัดตั้งขึ้นตาม  คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา ๙

               พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ จึงมิใช่  วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
               กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่อ  และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่จะอยู่ใน
               อย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค   อำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง แต่เป็น

               ราชการส่วนท้องถิ่น  รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น  นิติสัมพันธ์ที่โจทก์ทั้งสิบตกลงจะทำงานให้จำเลยที่ ๒
               โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือ  และที่ ๓ และจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ตกลงจะให้สินจ้าง


               หน่วยงานอื่นของรัฐ  แต่จำเลยที่  ๒  และที่  ๓  ตลอดเวลาที่ทำงานให้ สัญญาพิพาทจึงมีลักษณะ
               อาจเป็นหน่วยงานทางปกครองและอาจถูกฟ้อง  เป็นสัญญาจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่ง
               ต่อศาลปกครองได้ หากได้กระทำการใดโดยใช้อำนาจ  และพาณิชย์ มาตรา ๕๗๕ และคู่สัญญาจึงอยู่ในฐานะ

               ทางปกครองหรือดำเนินกิจการทางปกครอง  ลูกจ้างนายจ้างตามบทบัญญัติดังกล่าว เมื่อโจทก์ทั้งสิบ
               ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งได้แก่การดำเนินการเกี่ยวกับ  ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสามจ่ายเงินเพิ่มโดยกล่าวอ้าง

               การจัดการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็น  ว่ามีสิทธิตามสัญญาและระเบียบ กรณีจึงเป็นข้อพิพาท




                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  55
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62