Page 58 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 58
เกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงาน และลูกจ้างของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
หรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตาม ต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย
คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ (๑) ซึ่งเป็นคดีแรงงาน ว่าด้วยประกันสังคมและกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
ที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม จึงเป็นการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
และเป็นคดีพิพาทที่ได้รับการยกเว้นไม่อยู่ในอำนาจ และชุมชนเมืองแห่งชาติอาจกำหนดเรื่องประโยชน์
ศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๓) แห่ง ตอบแทนสูงกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมายทั้งสามฉบับก็ได้
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา เพียงแต่ต้องไม่น้อยกว่าที่กำหนดในกฎหมาย
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ทั้งสามฉบับดังกล่าว มิใช่เป็นกรณีที่กฎหมายกำหนด
ว่าสัญญาที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ กระทำกับบุคคลใดอันมี
คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงานแล้วจะไม่กลายเป็น
ที่ ๙๐/๒๕๕๗ สัญญาจ้างแรงงาน คดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิ
คดีที่สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง หรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลง
แห่งชาติถูกอดีตพนักงานยื่นฟ้องตามสัญญาจ้าง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง ตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๑)
ขอให้ร่วมกันชำระเงินเพิ่มจากการเลื่อนเงินเดือน แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา
ค่าชดเชยจากการเลิกจ้าง ค่าเสียหายจากการขาดรายได คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ อันอยู่ในอำนาจพิจารณา
้
เพราะต้องตกงานและเงินสบทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พิพากษาของศาลแรงงานซึ่งเป็นศาลยุติธรรม จึงไม่อยู่
พร้อมดอกเบี้ย เห็นว่า สัญญาจ้างระหว่างผู้ฟ้องคดี ในอำนาจของศาลปกครองตามพระราชบัญญัติ
กับผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ซึ่งระบุว่า ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ตกลงจ้าง จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
และผู้ฟ้องคดีตกลงรับจ้างทำงานให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ วรรคสอง (๓)
ภายในระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญา
โดยกำหนดอัตราเงินเดือนที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ต้องจ่าย คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ให้ผู้ฟ้องคดีในแต่ละเดือนมีลักษณะเป็นสัญญา ที่ ๒๖/๒๕๕๗
จ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ คดีที่โจทก์ซึ่งเป็นเอกชนยื่นฟ้องของ
ผู้ฟ้องคดีและผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ จึงอยู่ในฐานะลูกจ้าง มหาวิทยาลัยเอกชน จำเลยที่ ๑ กับพวก กรณีมีคำสั่ง
และนายจ้างตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานทั่วไป ให้โจทก์พ้นจากตำแหน่งอธิการบดี และมีคำสั่งแต่งตั้ง
แม้ว่ากฎหมายที่จัดตั้งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ จะกำหนดว่า จำเลยที่ ๒ ให้ดำรงตำแหน่งรักษาการอธิการบดี โดยที่
กิจการของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ โจทก์ไม่ได้กระทำความผิด อันเป็นการเลิกจ้างโจทก์
ไม่อยู่ในบังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง โดยไม่เป็นธรรม เมื่อจำเลยที่ ๑ เป็นสถาบันอุดมศึกษา
แรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เอกชนที่ดำเนินธุรกิจในเชิงพาณิชย์ และโจทก์บรรยาย
กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วย ฟ้องระบุว่า จำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจ้างโจทก์เป็นอาจารย์
เงินทดแทนและกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมก็ตาม ผู้สอน ต่อมาได้มีคำสั่งแต่งตั้งโจทก์เป็นอธิการบดี
แต่ก็ได้บัญญัติรับรองไว้ว่าผู้อำนวยการ พนักงาน มีอำนาจหน้าที่บริหารงานภายใต้ระเบียบข้อบังคับ
56 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล