Page 59 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 59

การทำงานของจำเลยที่ ๑ โดยมีค่าตอบแทน นิติสัมพันธ์  กับให้จำเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันชดใช้ค่าเสียหาย

               ระหว่างโจทก์และจำเลยที่ ๑ จึงเป็นความสัมพันธ์ในฐานะ  พร้อมดอกเบี้ย จำเลยทั้งสองให้การว่า คำสั่งโยกย้าย
               ลูกจ้างนายจ้าง อันเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมายแพ่ง  โจทก์ชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมแล้ว กระบวนการ

               สัญญาจ้างทำงานระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงเป็นสัญญา  ยื่นข้อเรียกร้องเสร็จสิ้นลงตามกฎหมายแล้ว เห็นว่า
               จ้างแรงงาน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  โจทก์ทำสัญญาเป็นลูกจ้างขององค์การค้าของจำเลยที่ ๑

               มาตรา ๕๗๕ และการที่จำเลยที่ ๑ ทำสัญญาจ้างโจทก์  ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้งเพื่อหาประโยชน์
               ก็เป็นเพียงการดำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็น  ให้แก่คุรุสภาและอำนวยความสะดวกให้แก่การศึกษา

               ส่วนหนึ่งที่ทำให้จำเลยที่ ๑ ดำเนินธุรกิจในการให้บริการ  โดยผลิต จำหน่าย และพัฒนาสื่อการศึกษาทุกประเภท

               ด้านการศึกษาได้เท่านั้น เมื่อโจทก์อ้างว่าจำเลยที่ ๑  โดยไม่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและสามารถบริหาร

               เลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม ขอให้บังคับจำเลยทั้งสาม  กิจการจนมีกำไร การดำเนินกิจการขององค์การค้า

               ร่วมกันจ่ายค่าจ้างเดือนสุดท้ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว  ของจำเลยที่ ๑ มีลักษณะเดียวกับการดำเนินการ
               ล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าเสียหายจากการเลิกจ้าง  ของเอกชนซึ่งเป็นการประกอบกิจการเชิงพาณิชยกรรม

               ไม่เป็นธรรม และค่าเสียหายจากการกระทำละเมิด  และความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ ๑ มีลักษณะ
               ของจำเลยทั้งสาม จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิหรือ  เป็นนายจ้างลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน ประกอบ

               หน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง  กับโจทก์ขอให้เพิกถอนคำสั่งโยกย้ายอ้างว่าเป็น

               ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒  การกลั่นแกล้งโจทก์เพราะเหตุที่โจทก์เป็นกรรมการ

               มาตรา ๘ (๑) อันอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษา  สหภาพแรงงานและยื่นข้อเรียกร้อง อันเป็นเรื่องที่

               ของศาลยุติธรรม                                   โจทก์กล่าวอ้างว่าจำเลยทั้งสองฝ่าฝืนพระราชบัญญัติ
                                                                แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ ส่วนจำเลยทั้งสอง

               คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล           ให้การโต้แย้งว่ามีสิทธิโยกย้ายโจทก์เพราะไม่มี
               ที่ ๗๙/๒๕๕๖                                      ข้อเรียกร้องอยู่ในระหว่างการเจรจา ไม่ต้องห้าม

                       คดีที่โจทก์เป็นเอกชนยื่นฟ้องสำนักงาน  ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ข้อพิพาทระหว่างโจทก์

               คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู  และจำเลยทั้งสองจึงเป็นข้อพิพาทที่เกี่ยวกับสิทธิ
               และบุคลากรทางการศึกษา และผู้อำนวยการองค์การค้า  หรือหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลง

               ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ  เกี่ยวกับสภาพการจ้างและเป็นคดีเกี่ยวด้วยสิทธิหรือ

               สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาว่า จำเลยที่ ๑  หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานหรือ
               โดยจำเลยที่ ๒ มีคำสั่งโยกย้ายโจทก์โดยไม่ชอบ  กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ตามพระราชบัญญัติ
               ด้วยกฎหมายและไม่เป็นธรรม ขัดขวางการทำหน้าที่  จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒

               ของโจทก์และขัดต่อกฎหมาย เพราะโจทก์อยู่ระหว่าง  มาตรา ๘ คดีจึงอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของ

               ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนเจรจาข้อเรียกร้องฝ่ายลูกจ้าง  ศาลยุติธรรม
               และการเจรจายังไม่มีข้อยุติซึ่งเป็นการดำเนินการ

               ของจำเลยที่ ๒ แต่เพียงผู้เดียว ขอให้เพิกถอนคำสั่ง
               โยกย้ายโจทก์และให้โจทก์กลับเข้ารับตำแหน่งเดิม







                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  57
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64