Page 89 - annual 2561
P. 89

81




               เป็นข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามสัญญาจ้าง ตกลงให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเข้าด�าเนินการหรือร่วมด�าเนิน
               แรงงานหรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ตาม  การบริการสาธารณะโดยตรงหรือเป็นสัญญาที่มีข้อ

               พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี ก�าหนดในสัญญาซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แสดงถึงเอกสิทธิ์
               แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเป็นข้อยกเว้นเขตอ�านาจ  ของรัฐทั้งนี้เพื่อให้การใช้อ�านาจทางปกครองหรือการ
               ศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๓)                 ด�าเนินกิจการทางปกครองซึ่งก็คือการบริการสาธารณะ

                      เมื่อพิจารณาลักษณะข้อพิพาทเกี่ยวกับการ   บรรลุผล ดังนั้นหากสัญญาใดเป็นสัญญาที่หน่วยงานทาง

               เลิกจ้างอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาแล้วจะเห็นได้ว่า  ปกครองหรือบุคคลซึ่งกระท�าการแทนรัฐมุ่งผูกพันตน
               ความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และสถาบันอุดมศึกษานั้น   กับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งด้วยใจสมัครบนพื้นฐานแห่งความ

               อยู่ในรูปแบบของสัญญา กรณีนี้จึงต้องพิจารณาต่อไปว่า  เสมอภาคและมิได้มีลักษณะเช่นที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
               สัญญาดังกล่าวมีลักษณะเป็นสัญญาทางปกครองหรือไม่   สัญญานั้นย่อมเป็นสัญญาทางแพ่ง”
               โดยมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง           ส�าหรับกรณีพิพาทเกี่ยวกับการเลิกจ้างอาจารย์

               และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ก�าหนด ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น แม้ว่าการจัดตั้งสถาบัน
               นิยามของสัญญาทางปกครองไว้ว่า สัญญาทางปกครอง  การศึกษาเอกชนจะเป็นไปตามพระราชบัญญัติสถาบัน

               หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งเป็นกรณีที่กฎหมาย
               หน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระท�าการแทน มอบอ�านาจให้เอกชนด�าเนินกิจการทางปกครองในเรื่อง
               รัฐและมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดท�า  การศึกษาซึ่งเป็นบริการสาธารณะอย่างหนึ่งซึ่งสถาบัน

               บริการสาธารณะหรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือ  อุดมศึกษาเอกชนอาจเป็นหน่วยงานทางปกครองตาม
               แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนี้  มาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ

               ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดครั้งที่  วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้เพราะถือเป็น
               ๖/๒๕๔๔ เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๔ ยังได้ก�าหนด หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อ�านาจทางปกครอง
               ขอบเขตความหมายของสัญญาทางปกครองไว้ว่า           ก็ตาม แต่ส�าหรับกรณีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาจ้างระหว่าง

                      “สัญญาใดจะเป็นสัญญาทางปกครองตาม          สถาบันอุดมศึกษาเอกชนและอาจารย์นั้น แม้จะปรากฏว่า

               ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง   วัตถุประสงค์ของการว่าจ้างอาจารย์จะเป็นไปเพื่อจัดการ
               ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔      เรียนการสอนซึ่งเป็นการจัดท�าบริการสาธารณะโดยตรง

               ได้นั้น ประการแรกคู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง  ก็ตาม แต่เมื่อการท�าสัญญาจ้างระหว่างสถาบันอุดมศึกษา
               เป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งได้รับ    เอกชนและตัวผู้สอนก็เป็นเพียงการเข้าท�าสัญญาใน
               มอบหมายกระท�าการแทนรัฐ ประการที่สองสัญญานั้น    ฐานะเอกชนด้วยกัน โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ใน

               มีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน                                        ฐานะนายจ้างและลูกจ้างตามระบบ
               สัญญาที่ให้จัดท�าบริการสาธารณะ                                  กฎหมายเอกชนเท่านั้น สัญญาจ้าง

               หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค                                     ดังกล่าวจึงไม่ใช่สัญญาทางปกครอง
               หรือแสวงหาประโยชน์จาก                                           คดีพิพาทเกี่ยวกับการเลิกจ้าง
               ทรัพยากรธรรมชาติหรือเป็น                                        อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

               สัญญาที่หน่วยงานทางปกครอง                                       จึงอยู่ในอ�านาจพิจารณาวินิจฉัย
               หรือบุคคลซึ่งกระท�าการแทนรัฐ                                    ของศาลยุติธรรม (แนวค�าวินิจฉัยที่
                                                                               ๕/๒๕๖๑)
   84   85   86   87   88   89   90   91   92