Page 84 - annual 2561
P. 84

ศึกษาหลักกฎหมายจากคำาวินิจฉัย :

            ผู้พิการฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการที่หน่วยงาน


            ทางปกครองละเลยไม่จัดอุปกรณ์อำานวยความสะดวก


            ในการใช้รถไฟฟ้า “บีทีเอส” อยู่ในอำานาจศาลใด







                    ประเทศไทยเป็นประเทศที่รัฐธรรมนูญก�าหนดความคุ้มครองบุคคลที่อยู่ในรัฐ         โดย
                                                                                           คิดงาม คงตระกูล ลี
            อย่างเสมอภาคกัน และปฏิเสธการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมจากหน่วยงานของรัฐ       ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำา
                                                                                         กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา
            ในขณะเดียวกันส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคมได้มีสิทธิในการใช้ชีวิต   ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัย
            เท่าเทียมกันกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บุคคลผู้พิการ โดยรัฐธรรมนูญแห่ง   ชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
            ราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบับล้วนบัญญัติรับรองหลักการดังกล่าวไว้ เช่น รัฐธรรมนูญ

            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๕๕ บัญญัติว่า “บุคคลซึ่งพิการ
            หรือทุพพลภาพมีสิทธิได้รับสิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความ
            ช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ” มาตรา ๘๐ บัญญัติว่า “รัฐต้อง

            สงเคราะห์ คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิต
            ที่ดีและพึ่งตนเองได้ และเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบ

            ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการไทย พ.ศ. ๒๕๔๑ ข้อ ๑๐ ยืนยันหลักการว่าคนพิการ
            มีสิทธิได้รับสิ่งอ�านวยความสะดวก บริการ และความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ เพื่อให้
            สามารถด�ารงอยู่ในสังคมได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ

            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๕๔ ก็ยังคงบัญญัติยืนยันสิทธิของ
            ผู้พิการว่า “บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการ

            สิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่
            เหมาะสมจากรัฐ” ทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งเป็น
            รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ก็ได้บัญญัติรับรองสิทธิของผู้พิการที่จะ

            ได้รับการปฏิบัติจากรัฐอย่างเท่าเทียมในมาตรา ๒๗ วรรคสาม
            ว่า “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยความ

            แตกต่างในเรื่องถิ่นก�าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ ...
            จะกระท�ามิได้” ดังนี้ หากมีผู้พิการที่เห็นว่าตนไม่ได้รับ
            การปฏิบัติที่เหมาะสมในการอ�านวยความสะดวกใน

            การใช้บริการสาธารณะจากรัฐ และประสงค์จะฟ้องคดี
            เพื่อให้รัฐด�าเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายหรือ

            เรียกค่าเสียหายจากหน่วยงานของรัฐนั้น จะต้อง
            ฟ้องคดีที่ศาลใด มีกรณีตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริงและ




            76
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89