Page 79 - annual 2561
P. 79

71




























               อ�านาจทางปกครองของรัฐในการด�าเนินการอย่างหนึ่ง         พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธี
               อย่างใดตามกฎหมาย ดังนั้น นิยามค�าว่า “เจ้าหน้าที่”  พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓ นิยาม

               ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ จึงมีความหมายกว้างขวาง ค�าว่า  “หน่วยงานทางปกครอง”  หมายความว่า
               กว่านิยามของค�าว่า “เจ้าหน้าที่ และหน่วยงานของรัฐ”   “กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
               ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ   และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ

               ทั้งนี้  เพราะพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง  ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
               ปกครองฯ มีเจตนารมณ์ในการก�าหนดหลักเกณฑ์และ  หรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และ

               วางมาตรฐานการปฏิบัติราชการอันเป็นการใช้อ�านาจรัฐที่ ให้หมายความรวมถึงหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้
               มีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนและผู้รับค�าสั่ง   อ�านาจทางปกครองหรือให้ด�าเนินกิจการทางปกครอง”
               เพื่อเป็นหลักประกันความเป็นธรรมและมีมาตรฐาน  และนิยามค�าว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า

               อย่างเดียวกัน จึงต้องบัญญัติให้ครอบคลุมบุคคลทุก        (๑)  ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล
               ประเภทที่ใช้อ�านาจรัฐหรือได้รับมอบให้ใช้อ�านาจรัฐ    หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง

               จากตัวอย่างที่กล่าวมา จึงเห็นได้ว่าบทนิยามของกฎหมาย    (๒)  คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
               ฉบับใดย่อมต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติฉบับนั้น ซึ่งมี  คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อ�านาจในการ
               เจตนารมณ์ และการบังคับใช้ที่แตกต่างกัน การเป็น   ออกกฎ ค�าสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุคคล และ

               “หน่วยงานของรัฐ หรือ เจ้าหน้าที่” ตามกฎหมายฉบับใด      (๓)  บุคคลที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในก�ากับ
               ฉบับหนึ่งจึงอาจไม่อยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาของ  ดูแลของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ

               ศาลปกครองก็ได้ แต่อาจอยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษา   ตาม (๑) หรือ (๒)
               ของศาลยุติธรรม หรือเอกชนอาจเป็นผู้ถูกฟ้องคดีใน
               ศาลปกครองได้ หากกระท�าการโดยใช้อ�านาจทาง               ดังนั้น “หน่วยงานทางปกครอง” ตามพระราช

               ปกครองตามที่ได้รับมอบหมาย จึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่ง  บัญญัตินี้ที่จะอยู่ในอ�านาจศาลปกครอง จึงจ�าแนกได้
               ที่ต้องท�าความเข้าใจและแยกแยะสถานะของ “หน่วยงาน  เป็น ๖ กลุ่ม ดังนี้

               ทางปกครอง หรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ตามพระราชบัญญัติ     (๑)  กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่อ
               จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.    อย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งก็คือ ส่วนราชการฝ่าย
               ๒๕๔๒ ให้ถูกต้องชัดเจนเพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัย   บริหาร

               เขตอ�านาจศาลให้ถูกต้อง                                 (๒)  ราชการส่วนภูมิภาค
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84