Page 78 - annual 2561
P. 78
70
ในนามของรัฐและแทนรัฐโดยมิได้อยู่ในสังกัดของ
“หน่วยงานของรัฐ” แห่งใด เช่น บุคคลธรรมดาที่ปฏิบัติงาน
ในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือในองค์กรหมู่
ตามกฎหมายต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการข้าราชการ
สภาท้องถิ่น สภามหาวิทยาลัย ซึ่งหากบุคคลดังกล่าว
กระท�าละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหายต้องฟ้อง
กระทรวงการคลังให้เป็นผู้รับผิดแทนรัฐ ตามมาตรา ๕
วรรคสองของพระราชบัญญัติดังกล่าว นอกจากนี้นิยาม
ค�าว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือ เจ้าหน้าที่” ของพระราช
บัญญัติทั้งสองฉบับดังกล่าวยังแตกต่างจากบทนิยาม
ค�าว่า “เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๕ ที่ว่า “เจ้าหน้าที่”
หมายความว่า “บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคลซึ่งใช้
อ�านาจหรือได้รับมอบให้ใช้อ�านาจทางปกครองของรัฐ
ในการด�าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่า
มิได้แยกแยะระหว่างรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลมหาชน จะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
และรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลเอกชนดังเช่นพระราช กิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม” จากบทนิยามดังกล่าว
บัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ นอกจากนี้ “เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้จะต้องเป็นผู้ซึ่ง
เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาคดีพระราช ใช้อ�านาจหรือได้รับมอบให้ใช้อ�านาจทางปกครองของรัฐ
บัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการฯ ยังบัญญัติชัดเจนว่า ในการด�าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่า
ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาล และหน่วยงานอิสระของ นิติบุคคลนั้นจะจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ
รัฐเป็น “หน่วยงานของรัฐ” และถือว่า องค์กรควบคุม หรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม ซึ่งต่างจากบทนิยาม
การประกอบวิชาชีพเป็น “หน่วยงานของรัฐ” ด้วย ซึ่ง ค�าว่า “เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติความรับผิด
แตกต่างจากพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ และพระราชบัญญัติข้อมูล
เจ้าหน้าที่ฯ นอกจากนี้ ในส่วนบทนิยามค�าว่า “เจ้าหน้าที่ ข่าวสารของราชการฯ ซึ่งไม่จ�าต้องใช้อ�านาจทางปกครอง
หรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ” นั้น นิยามของพระราชบัญญัติ นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ทั้งสองฉบับก็แตกต่างกัน โดยในกรณีของพระราชบัญญัติ ปกครองฯ รัฐวิสาหกิจทั้งหมดเป็น “เจ้าหน้าที่” ตาม
ข้อมูลข่าวสารของราชการฯ หากบุคคลนั้นปฏิบัติหน้าที่ พระราชบัญญัติฉบับนี้โดยมิได้แยกแยะว่าเป็นรัฐวิสาหกิจ
ให้หน่วยงานของรัฐตามบทนิยามของมาตรา ๔ แห่ง ที่เป็นนิติบุคคลมหาชนหรือนิติบุคคลเอกชน ขอเพียงให้
พระราชบัญญัติดังกล่าว ก็เข้าบทนิยามว่าเป็นผู้มีสถานะ ใช้อ�านาจหรือได้รับมอบให้ใช้อ�านาจทางปกครองของรัฐ
เป็น “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ตามพระราชบัญญัติข้อมูล ในการด�าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย และ
ข่าวสารของราชการฯ ทันที แต่สถานะความเป็น ค�านิยามที่ว่า “...ไม่ว่านิติบุคคลนั้นจะจัดตั้งขึ้นในระบบ
“เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด ราชการ...หรือไม่ก็ตาม” แสดงให้เห็นว่าค�านิยามของ
ของเจ้าหน้าที่ฯ นั้น เจ้าหน้าที่นั้นอาจมิได้เป็นข้าราชการ ค�าว่า “เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
พนักงาน หรือลูกจ้างของ “หน่วยงานของรัฐ” นั้นก็ได้ ทางปกครองฯ หมายความรวมถึงนิติบุคคลเอกชนด้วย
แต่อาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่กระท�าการ โดยเพียงแต่บุคคลนั้นได้ใช้อ�านาจหรือได้รับมอบให้ใช้