Page 73 - annual 2561
P. 73
65
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างไปด้วย ส�านักงานเลขานุการฯ : อยากเรียนถามว่า
เพื่อความสะดวกในการนัดประชุมหรือจะด�าเนินการใด ๆ คดีแรกของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่
ตามอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ระหว่างศาล เป็นเรื่องอะไร
เมื่อพระราชบัญญัตินี้ประกาศใช้แล้ว ก็ยังคงเป็น ดร.จิรนิติ : ค�าวินิจฉัยที่ ๑/๒๕๔๔ เป็น
เพียงแค่กฎหมาย ไม่มีคณะกรรมการเกิดขึ้น เนื่องจากยัง เรื่องที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลต�าบล
ไม่มีการจัดตั้งศาลปกครอง กระทั่งวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๔ ตันหยงยื่นค�าร้องต่อศาลจังหวัดปัตตานี ขอให้ศาลไต่สวน
มีการเปิดท�าการศาลปกครองขึ้น องค์ประกอบของ และตรวจสอบการนับคะแนน หากฟังว่ามีการกระท�า
คณะกรรมการโดยต�าแหน่งตามรัฐธรรมนูญจึงครบถ้วน ที่มิชอบเพื่อประโยชน์ของผู้สมัครคนหนึ่งคนใด ขอให้
โดยมีการประชุมครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ศาลสั่งว่าผู้สมัครรับเลือกตั้งนั้นเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งโดย
๒๕๔๔ มิชอบ และหากฟังไม่ได้ว่ามีการกระท�าโดยมิชอบ ขอให้
ศาลสั่งว่าไม่มีผู้สมัครรายใดได้รับการเลือกตั้ง ศาลจังหวัด
ส�านักงานเลขานุการฯ : ท่านเป็น
เลขานุการคนแรกของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ ปัตตานีเห็นว่า ค�าสั่งการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลเป็น
ค�าสั่งทางปกครอง คดีไม่อยู่ในอ�านาจของศาลยุติธรรม
หน้าที่ระหว่างศาล ในสมัยแรกมีปัญหาหรือความยุ่งยาก จึงไม่รับค�าร้องไว้พิจารณา ต่อมา โจทก์ได้น�าคดีเรื่อง
อะไรไหม เนื่องจากเป็นเรื่องใหม่ในระบบศาลและระบบ เดียวกันนี้ไปฟ้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อคัดค้านการ
กฎหมายของไทย
เลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลต�าบลตันหยง ศาลปกครอง
ดร.จิรนิติ : ผมเป็นเลขานุการศาลฎีกา จึง กลางเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอ�านาจของศาลยุติธรรม จึงจะ
เป็นเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดโดยต�าแหน่ง ไม่รับฟ้อง แต่ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ
มีท่านผู้พิพากษาศาลชั้นต้นที่ท�างานในศาลฎีกาช่วยเป็น หน้าที่ระหว่างศาล ศาลที่สองจะไม่รับฟ้องไม่ได้ ต้อง
ทีมท�างาน ๒ ท่าน ช่วยกันวางระบบ มีเจ้าหน้าที่มาท�า ส่งเรื่องให้คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ทางศาลปกครองกลาง
หน้าที่ในงานทางธุรการ ตั้งขึ้นเป็นส�านักงานเลขานุการ ส่งเรื่องมาให้คณะกรรมการวินิจฉัยว่าคดีนี้อยู่ในอ�านาจ
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล ศาลใด ซึ่งในขณะนั้น การเลือกตั้งสภาเทศบาลยังใช้
ไม่มีความยุ่งยากอะไรในงานทางธุรการ เนื่องจากมี กฎหมายเดิมอยู่ คือ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิก
เรื่องเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการไม่มาก ใน สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๘๒ คณะกรรมการก�าหนดประเด็น
การประชุมครั้งแรก ๆ ของปี ๒๕๔๔ จะเป็นเรื่องการ ในการพิจารณาว่า “ศาลชั้นต้นที่มีเขตอ�านาจในการ
ร่างระเบียบคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ พิจารณาค�าร้องคัดค้านการเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติ
ระหว่างศาล ว่าด้วยวิธีการรับสมัครและการคัดเลือก การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๘๒ มาตรา ๕๘
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ร่างพระราชกฤษฎีกาก�าหนดให้ วรรคหนึ่ง หมายความถึง ศาลยุติธรรมหรือศาลปกครอง”
คณะกรรมการและเลขานุการได้รับประโยชน์ตอบแทน คณะกรรมการในขณะนั้นวินิจฉัยชี้ขาดด้วยเสียงข้างมาก
พ.ศ. ... ร่างข้อบังคับคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ (๕ ต่อ ๒) ว่ากรณีตามค�าร้องเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ
หน้าที่ระหว่างศาล ว่าด้วยการเสนอเรื่อง การพิจารณา หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�า
และการวินิจฉัย พ.ศ. ... คณะกรรมการได้เริ่มพิจารณา การโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาล
รับเรื่องครั้งแรกเมื่อการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๔๔ ปกครองฯ มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) อย่างไรก็ตาม
วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๔ โดยในปี ๒๕๔๔ มีเรื่อง มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิก
เข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการจ�านวน ๑๖ เรื่อง สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๘๒ บัญญัติว่า “เมื่อศาลได้รับค�าร้อง
คณะกรรมการวินิจฉัยเสร็จไป ๗ เรื่อง คัดค้านแล้ว ให้ด�าเนินการพิจารณาตามประมวลกฎหมาย