Page 72 - annual 2561
P. 72

64




                                                            ไว้ชัดแจ้งในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ ประธานศาลฎีกาเป็น
                                                            ประธาน ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานศาลอื่น

                                                            ซึ่งหมายถึงหัวหน้าส�านักตุลาการศาลทหาร หรือศาลอื่น
                                                            หากได้มีการจัดตั้งศาลเพิ่มขึ้นใหม่เป็นอีกระบบหนึ่ง
                                                            ซึ่งสมัยก่อนนั้น คณะกรรมาธิการคงจะหมายความถึง

                                                            ศาลภาษีอากรแบบต่างประเทศ ระดับที่ (๒) คณะกรรมการ
                                                            ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�านวนไม่เกิน ๔ คน ซึ่งคณะกรรมาธิการ

                                                            สมัยนั้นออกแบบว่า น่าจะมีองค์ประกอบมาจาก ๔ ส่วน
                                                            ด้วยกัน ได้แก่ องค์ประกอบแรก เลือกจากที่ประชุมใหญ่
                                                            ของศาลฎีกา องค์ประกอบที่ ๒ เลือกจากที่ประชุมใหญ่

                                                            ของศาลปกครองสูงสุด องค์ประกอบที่ ๓ เลือกจาก
                                                            ที่ประชุมใหญ่ของตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหาร

                                                            สูงสุด และองค์ประกอบที่ ๔ ให้คณะกรรมการทั้งหมด
                                                            เป็นผู้คัดเลือกมา ๑ คน ซึ่งต้องเป็นคนที่มีความเป็นกลาง

                                                                   การออกแบบวิธีการในการเสนอปัญหานั้น วาง
                                                            ระบบว่าควรจะยุติกันที่ศาลชั้นต้น และถ้าทั้งสองศาล

            ศาลปกครอง และศาลทหาร เพื่อท�าหน้าที่วินิจฉัยชี้ขาด เห็นตรงกันว่าคดีอยู่ในอ�านาจของศาลใด ก็ให้ด�าเนินการ
            ปัญหาดังกล่าวในมาตรา ๒๔๘ ที่บัญญัติว่า “ในกรณี ไปตามที่เห็นพ้องกันนั้น  โดยไม่ต้องส่งเรื่องมาให้

            ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาลยุติธรรม   คณะกรรมการพิจารณา ส่วนกรณีที่ค�าพิพากษาสองศาล
            ศาลปกครอง ศาลทหาร หรือศาลอื่น ให้พิจารณาวินิจฉัย ขัดแย้งกัน ก็จะต้องเป็นค�าพิพากษาที่ถึงที่สุดและมีความ
            ชี้ขาดโดยคณะกรรมการคณะหนึ่งซึ่งประกอบด้วย  จ�าเป็นที่จะต้องให้คณะกรรมการเป็นผู้วินิจฉัย เพราะเป็น

            ประธานศาลฎีกาเป็นประธาน ประธานศาลปกครอง ค�าพิพากษาที่ถึงที่สุดในศาลทั้งสองแล้ว
            สูงสุด ประธานศาลอื่น และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกินสี่คน  ส�าหรับหน่วยงานธุรการนั้น คณะกรรมาธิการ
            ตามที่กฎหมายบัญญัติเป็นกรรมการ” ส่วนหลักเกณฑ์การ  เห็นว่า เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้บัญญัติให้ประธาน

            เสนอปัญหาให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ต่อมาเดือน  ศาลฎีกาเป็นประธานคณะกรรมการจึงควรก�าหนดให้
            กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ ได้มีการแต่งตั้งกรรมาธิการวิสามัญ  เลขานุการของศาลฎีกาท�าหน้าที่ทางธุรการของ

            เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาด
            อ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ... โดยน�าแนวทางของ
            ศาลคดีขัดกัน (Tribunal des Conflits) ของประเทศ

            ฝรั่งเศสมาเป็นต้นแบบ  ก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของ
            คณะกรรมการในการวินิจฉัยกรณีการขัดแย้งกันของ

            ระบบศาลคู่ ๒ เรื่อง คือ (๑) การขัดแย้งกันในเรื่อง
            อ�านาจของศาล (๒) การขัดแย้งกันในเรื่องค�าวินิจฉัยหรือ
            ค�าพิพากษาของศาลต่างระบบที่ออกมาแล้วขัดแย้งกัน

            ส่วนเรื่องโครงสร้างของคณะกรรมการได้ก�าหนดไว้
            ๒ ระดับ คือ (๑) คณะกรรมการโดยต�าแหน่ง ซึ่งได้ก�าหนด
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77