Page 77 - annual 2561
P. 77

“หน่วยงานทางปกครอง” และ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”


                                                        ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง


                                                    และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒






                       โดย                    ในการวินิจฉัยเขตอ�านาจศาลระหว่างศาลยุติธรรมและศาลปกครอง ปัญหา
            ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
                รองประธานศาลปกครองสูงสุด  ประการแรกที่จะต้องพิจารณา คือ ปัญหาเกี่ยวกับสถานะของความเป็น “หน่วยงาน
             กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของศาลปกครอง
                                       ทางปกครอง” หรือ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ของโจทก์หรือจ�าเลยในคดีที่มีการโต้แย้ง
                                       เขตอ�านาจศาลนั้น ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
                                       พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องจากเป็นองค์ประกอบแรกที่จะแสดงให้เห็นว่าคดีนี้เป็นคดีปกครองที่

                                       จะอยู่ในอ�านาจศาลปกครองหรือไม่ และการวินิจฉัยว่าโจทก์หรือจ�าเลยเป็น “หน่วยงาน
                                       ทางปกครอง” หรือ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ที่จะอยู่ในอ�านาจของศาลปกครองหรือไม่นั้น
                                       ต้องพิจารณาตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา

                                       คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เท่านั้น โดยไม่จ�าต้องพิจารณาตามกฎหมายอื่น

                                              เนื่องจากพระราชบัญญัติแต่ละฉบับนิยามค�าว่า “หน่วยงานทางปกครอง
                                       หรือหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ” ไว้แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ

                                       วัตถุประสงค์ของการบังคับใช้พระราชบัญญัติแต่ละฉบับนั้น เช่น พระราชบัญญัติข้อมูล
                                       ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔ นิยามค�าว่า “หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า

                                       ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการ
                                       สังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กร
                                       ควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นที่ก�าหนดใน

                                       กฎกระทรวง” และนิยามค�าว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า “ผู้ซึ่งปฏิบัติงาน
                                       ให้แก่หน่วยงานของรัฐ” ส่วนพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

                                       พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๔ ก็บัญญัตินิยามค�าว่า “หน่วยงานของรัฐ” และ “เจ้าหน้าที่”
                                       ต่างออกไป โดยให้ค�านิยาม “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า “กระทรวง ทบวง กรม
                                       หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ

                                       ส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้
                                       หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกาก�าหนดให้เป็นหน่วยงาน

                                       ของรัฐตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ด้วย” และนิยามค�าว่า “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า
                                       “ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้ง
                                       ในฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด” ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า บทนิยามของพระราช

                                       บัญญัติข้อมูลข่าวสารฯ นั้น ถือว่ารัฐวิสาหกิจทั้งหมดเป็น “หน่วยงานของรัฐ” โดย



                                                                                                          69
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82