Page 83 - annual 2561
P. 83

75




               กิจการทางปกครองตามที่ได้รับมอบหมายจากกรมการ ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (๑)
               ขนส่งทางบก การท�าสัญญาของโจทก์จึงมิได้กระท�าใน หรือ (๒) ก็มีสถานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายนี้

               ฐานะหน่วยงานทางปกครอง สัญญาพิพาทจึงไม่ใช่สัญญา เนื่องจากเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ให้แก่หน่วยงานทาง
               ทางปกครองที่จะอยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาของ  ปกครองดังกล่าวนั่นเอง
               ศาลปกครองตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ มาตรา ๙           จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การวินิจฉัยสถานะ

               วรรคหนึ่ง (๔)                                   ความเป็น “หน่วยงานทางปกครอง” และ “เจ้าหน้าที่

                      ส�าหรับค�าว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ตามพระราช ของรัฐ” ของโจทก์หรือจ�าเลยในคดีเป็นปัญหาส�าคัญ
               บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง  เพราะเป็นเงื่อนไขหรือองค์ประกอบประการแรกของการ

               พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓ นั้น หากว่า หน่วยงานของรัฐใด วินิจฉัยว่าคดีพิพาทนั้นเป็นคดีปกครองที่อยู่ในอ�านาจของ
               มีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้   ศาลปกครองหรือเป็นคดีอื่นที่อยู่ในอ�านาจศาลยุติธรรม
               นิยามตาม (๑) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล   เมื่อผ่านการพิจารณาในประเด็นนี้แล้วจึงจะได้พิจารณา

               หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครองดังกล่าว   ปัญหาประการต่อไปว่าการกระท�าที่เป็นเหตุพิพาทนั้น
               ย่อมมีสถานะเป็น “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ที่อาจอยู่ในอ�านาจ มีลักษณะเป็นคดีปกครองที่อยู่ในอ�านาจของศาลปกครอง

               ศาลปกครองทันที ส่วนนิยามตาม (๒) คณะกรรมการ ชั้นต้นตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง หรือเป็นคดีปกครองที่อยู่
               วินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมาย ในอ�านาจศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราช
               ให้อ�านาจในการออกกฎ ค�าสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผลกระทบ  บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

               ต่อบุคคลนั้น  อาจมิใช่คณะกรรมการที่อยู่ในสังกัด พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือไม่ต่อไป
               ของหน่วยงานทางปกครองนั้นก็ได้  เพียงแต่เป็น

               คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อ�านาจใน
               การออกกฎ ค�าสั่ง หรือมติใด ๆ ย่อมมีสถานะเป็น
               “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล

               ปกครองฯ ที่อาจถูกตรวจสอบการใช้อ�านาจดังกล่าวได้
               ส่วนคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทนั้น พระราชบัญญัตินี้

               ได้ให้นิยามไว้หมายความว่า คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้น
               ตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณาส�าหรับ
               การวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ดังนั้น

               คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทและคณะกรรมการหรือ
               บุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อ�านาจในการออกกฎ ค�าสั่ง หรือ

               มติใด  ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุคคลนั้น  อาจจะสังกัด
               หน่วยงานทางปกครองหรือไม่สังกัดหน่วยงานทาง
               ปกครองก็ได้ เช่น คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารตาม

               มาตรา  ๔  แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
               ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

               แพทยสภา คณะกรรมการการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
               คณะกรรมการอัยการ ฯลฯ ส่วน “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”
               ตาม (๓) บุคคลที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในก�ากับดูแล
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88