Page 85 - annual 2561
P. 85

77




               มีการเสนอเรื่องเข้าสู่คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ
               หน้าที่ระหว่างศาล เมื่อปี ๒๕๖๐

                      คดีนี้  ผู้พิการได้ยื่นฟ้องกรุงเทพมหานคร

               ต่อศาลยุติธรรมว่าตนและสมาชิกกลุ่มคนพิการเป็น
               “คนพิการ” ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
               คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้รับความ

               คุ้มครองจากพระราชบัญญัติดังกล่าว ได้รับความเสียหาย
               จากการที่กรุงเทพมหานครจ�าเลยละเมิดสิทธิของโจทก์

               กับพวกจากการที่จ�าเลยได้ท�าสัญญาสัมปทานระบบ
               ขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครกับบริษัทขนส่งมวลชน
               กรุงเทพ จ�ากัด ในการให้บริการขนส่งมวลชนโดยรถราง  โดยใช้สิทธิตามมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม

               หรือ “บีทีเอส” โดยไม่มีการจัดท�าลิฟต์ และสิ่งอ�านวย  และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่บัญญัติ
               ความสะดวกทั้ง ๒๓ สถานี หรือมีการจัดท�าแต่ไม่  ให้สิทธิโจทก์ในการฟ้องเรียกค่าเสียหายฐานละเมิดต่อ

               แล้วเสร็จ และไม่อาจใช้งานได้ โดยก่อนหน้านี้ศาลปกครอง ศาลที่มีเขตอ�านาจ ... แต่พระราชบัญญัติดังกล่าวมิได้
               สูงสุดมีค�าพิพากษาให้จ�าเลยจัดท�าลิฟต์และอุปกรณ์  ก�าหนดว่าศาลที่มีเขตอ�านาจนั้นคือศาลใด เนื่องจากการ

               สิ่งอ�านวยความสะดวกที่สถานีขนส่งทั้ง ๒๓ สถานี และ กระท�าละเมิดของหน่วยงานทางปกครองอาจเป็นคดี
               จัดท�าสิ่งอ�านวยความสะดวกบนรถไฟฟ้ารวมทั้งติด ที่อยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมหรือ
               สัญลักษณ์คนพิการไว้ทั้งในและนอกตัวรถคันที่จัดไว้ ศาลปกครองก็ได้ ดังนั้น การวินิจฉัยว่าคดีอยู่ในอ�านาจ

               ส�าหรับคนพิการตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒)  ศาลใดจึงต้องพิจารณาลักษณะของการกระท�าอันเป็น
               ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ เหตุแห่งการฟ้องคดีนี้ จากนั้นจึงน�าไปพิจารณากับ
               คนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟู    เขตอ�านาจศาลปกครองตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง

               สมรรถภาพคนพิการ ว่าด้วยมาตรฐานอุปกรณ์หรือ       ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
               สิ่งอ�านวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔   ซึ่งเป็นกฎหมายที่ก�าหนดเขตอ�านาจศาลปกครองอันเป็น

               โดยด�าเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ๑ ปี นับแต่วันที่มี   ศาลที่มีเขตอ�านาจเฉพาะ (ส่วนศาลยุติธรรมเป็นศาลที่
               ค�าพิพากษา แต่จ�าเลยเพิกเฉย อันเป็นการจงใจกระท�า  มีเขตอ�านาจทั่วไป) โดยคณะกรรมการวินิจฉัยว่า เมื่อ
               ละเมิดและขัดขวางการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต     คดีนี้ โจทก์ฟ้องขอให้ศาลมีค�าพิพากษาให้จ�าเลยซึ่งเป็น

               คนพิการ เลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย      หน่วยงานทางปกครองชดใช้ค่าเสียหายจากการที่อ้างว่า
               และไม่ปฏิบัติตามค�าพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด    จ�าเลยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม

               ขอให้ศาลพิพากษาให้กรุงเทพมหานครจ�าเลยชดใช้      และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ และค�าพิพากษา
               ค่าเสียหายเชิงลงโทษแก่โจทก์และสมาชิกกลุ่มคนพิการ  ศาลปกครองสูงสุดที่มีค�าพิพากษาให้จ�าเลยจัดท�าลิฟต์
               ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต     และสิ่งอ�านวยความสะดวกที่สถานีบีทีเอสทั้ง  ๒๓

               คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐                               สถานี และบนรถไฟฟ้า โดยเมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติ

                      กรณีมีปัญหาต้องวินิจฉัยว่าคดีนี้อยู่ในอ�านาจ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
               ของศาลใดระหว่างศาลปกครองและศาลยุติธรรม จะ มาตรา ๒๒ บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐที่ปฏิบัติหน้าที่

               เห็นได้ว่า การใช้สิทธิเรียกค่าเสียหายในคดีนี้ โจทก์ฟ้อง เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องใด มีหน้าที่ให้การส่งเสริมและ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90