Page 13 - แนวทางการพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนารายบุคคล Y
P. 13
วิ การพัฒนาอ น ๆ ท ใช้ในการพัฒนารายบุคคลของส านักงาน าลยุติ รรม
วิธีการพฒนาที่นอกเหนือจากการอบรมเป็นรายกลุ่มเป้าหมาย คือการพฒนารายบุคคลซึ่งสามารถ
ั
ั
ด าเนินการได้หลายวิธี แต่ละวิธีขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละบุคคล และสิ่งที่ต้องการพัฒนาโดยเป็น
การตกลงกันระหว่างผู้บังคับบัญชาและบุคลากรที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมก าหนดมีวิธีการ ดังนี้
1. การฝึกขณะปฏิบัติงาน (On the Job Training)
2. การให้ค าปรึกษาแนะน า (Consulting)
3. การดูงานนอกสถานที่ (Site Visit)
4. การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Learning)
5. การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา (Meeting/Seminar)
6. การติดตามหัวหน้า (Work Shadow)
7. การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring)
8. การมอบหมายงาน (Job Assignment)
9. การสอนงาน (Coaching)
10. การหมุนเวียนงาน (Job Rotation) / การให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่น
11. การฝึกงานกับผู้เชี่ยวชาญ (Counterpart)
12. การเป็นวิทยากรภายในหน่วยงาน (In-House Instructor)
โดยมีรายละเอียดการด าเนินการ ดังต่อไปนี้
1. ึกข ะปฏิบัติงาน (On the Job Training)
(รายงานจ านวนชั่วโมงไม่เกินกว่า 10 ชั่วโมง ต่อหัวข้อวิชา)
การฝึกขณะปฏิบัติงาน ถือเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายในหน่วยงาน เป็นวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกปฏิบัติจริง ณ สถานที่จริง เป็นการให ้
ค าแนะน าเชิงปฏิบัติในลักษณะตัวต่อตัวหรือเป็นกลุ่มเล็กในสถานที่ท างานและในช่วงการท างานปกติ
ั
ื้
วิธีการนี้เน้นประสิทธิภาพการท างานในลักษณะการพฒนาทักษะเป็นพนฐานให้แก่บุคลากรเข้าใจและ
สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง การฝึกขณะปฏิบัติงานสามารถด าเนินการ โดยผู้บังคับบัญชาหรือ
ิ่
มอบหมายผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องนั้น มักใช้ส าหรับบุคลากรใหม่ที่เพงเข้าท างาน สับเปลี่ยน โอนย้าย
เลื่อนต าแหน่งมีการปรับปรุงงานหรือต้องอธิบายงานใหม่ๆ ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ฝึกบุคลากรขณะ
ปฏิบัติงานตามลักษณะงานที่รับผิดชอบ เพอให้บุคลากรทราบและเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนวิธีปฏิบัติงาน
ื่
พร้อมคู่มือและระเบียบปฏิบัติประกอบ ท าให้เกิดการรักษาองค์ความรู้และคงไว้ซึ่งมาตรฐานการท างาน
แม้ว่าจะเปลี่ยนบุคลากรที่รับผิดชอบงานแต่ยังคงรักษาความมีประสิทธิภาพในการท างานต่อไปได้
9