Page 10 - แนวทางการพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนารายบุคคล Y
P. 10
การพัฒนารูปแบบอ น ด าเนินวิธีการพัฒนาอื่น ๆ นอกเหนือจาก - สถาบันพัฒนาข้าราชการ
ปรับปรุงพัฒนางานและแก้ไข การศึกษาและการอบรมดังกล่าวข้างต้น ฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
สภาพปัญหาข้อขัดข้อง ของ ประกอบด้วย 12 วิธีการ ดังนี้ - ส านัก/กอง/ศูนย์ ในสังกัด
1.
การปฏิบัติงาน ในปัจจุบันและ การฝึกขณะปฏิบัติงาน ส านักงานศาลยุติธรรม
งานในอนาคต (On the Job Training) - ส านักศาลยุติธรรมประจ าภาค
2.การให้ค าปรึกษาแนะน า (Consulting) - ส านักอ านวยการประจ าศาล
3.การดูงานนอกสถานที่ (Site Visit) - ส านักงานประจ าศาล
4.การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Learning) - วิธีการพัฒนาที่ 1, 2, 3, 4
5.การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา และ 5 รายงานจ านวนชั่วโมง
(Meeting/Seminar) ไม่เกิน 10 ชั่วโมง ต่อหัวข้อวิชา
6.การติดตามหัวหน้า (Work Shadow) - วิธีการพัฒนาที่ 6, 7, 8, 9
7.การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) และ 10 รายงานจ านวนชั่วโมง
8.การมอบหมายงาน (Job Assignment) ไม่เกิน 20 ชั่วโมง
9.การสอนงาน (Coaching) ต่อหัวข้อวิชา
10.การหมุนเวียนงาน (Job Rotation) / - วิธีการพัฒนาที่ 11 และ 12
การให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่น รายงานจ านวนชั่วโมง
11.การฝึกงานกับผู้เชี่ยวชาญ (Counterpart) ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ต่อหัวข้อวิชา
12.การเป็นวิทยากรภายในหน่วยงาน
(In-House Instructor)
วิ การอบรม
1
(รายงานจ านวนชั่วโมงตามจริง)
การพฒนาข้าราชการศาลยุติธรรมและบุคลากรในสังกัดส านักงานศาลยุติธรรมด้วยวิธีการอบรม
ั
เป็นการด าเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม โดยมีวิทยาลัย
ข้าราชการศาลยุติธรรมรับผิดชอบด าเนินการและบางส่วนเป็นภารกิจของหน่วยงานในสังกัดส านักงาน
ศาลยุติธรรม ซึ่งมุ่งเน้นการพฒนาบุคลากรให้ตรงตามหลักสมรรถนะในการปฏิบัติงานให้ได้อย่างถูกต้อง
ั
และเหมาะสมตามต าแหน่งและภารกิจหลักของแต่ละหน่วยงาน โดยให้ความส าคัญกับหลักสูตร
การอบรมสัมมนาตามประเภท สายงาน ต าแหน่ง ระดับ แต่เนื่องจากความแตกต่างในด้านศักยภาพ
1 วิธีการอบรม ให้รวมถึง การจัดการอบรมผ่านระบบประชุมทางจอภาพ (Video Conference) ที่เป็นการสื่อสาร
สองทาง (two – way communication) ซึ่งจัดโดยหน่วยงานส่วนกลางในสังกัดส านักงานศาลยุติธรรมหรือ
ส านักศาลยุติธรรมประจ าภาค โดยต้องมีการอนุมัติรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมและมีประกาศรายชื่อผู้ผ่านการอบรม
ด้วย
6