Page 6 - แนวทางการพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนารายบุคคล Y
P. 6

ที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชากับหัวหน้างานที่เป็นผู้บังคับบัญชาโดยตรง ซึ่งจะต้องแจ้งถึงเป้าหมายหรือความ

                  คาดหวังที่หัวหน้างานต้องการ โดยต้องเชื่อมโยงความสนใจในอาชีพของบุคลากรกับความต้องการของ

                                                                                                    ั
                                                                            ั
                  องค์กรที่มีความคาดหวังจากบุคลากรผู้นั้น ประกอบกับการพฒนารายบุคคลเน้นการพฒนาเป็น
                                                                  ั
                  รายบุคคล ซึ่งเป็นวิธีการที่ช่วยให้บุคลากรได้รับการพฒนาขีดสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ให้สามารถ
                  ปฏิบัติงานได้บรรลุตามเป้าหมายในสายอาชีพของตน โดยเชื่อมโยงหรือตอบสนองความต้องการหรือ

                  เป้าหมายขององค์กรได้ในขณะเดียวกัน การจัดท าแผนพัฒนารายบุคคลมีเป้าหมายให้บุคลากรได้เรียนรู้

                  ทักษะใหม่ในการปรับปรุงงานปัจจุบันให้ดีขึ้น เพิ่มความพึงพอใจในการท างาน ท าให้บุคลากรมีขวัญและ
                                                               ั
                                                                                                           ิ่
                  ก าลังใจในการท างานมากขึ้น อันส่งผลให้เกิดการพฒนาและปรับปรุงระดับบุคคลและหน่วยงานให้เพม
                                                                   ิ่
                  มากขึ้น จากการที่บุคลากรมีความรู้ความสามารถที่เพมมากขึ้น จึงเป็นการพฒนาบุคลากรอันได้แก่
                                                                                        ั
                  ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ และประเภทอ านวยการ ทุกระดับ พนักงานราชการ

                  ลูกจ้างประจ า และลูกจ้างชั่วคราว ให้สามารถพฒนาจุดอ่อนและสร้างจุดแข็งในการปฏิบัติงานเพอ
                                                                                                           ื่
                                                              ั
                    ั
                  พฒนาผลงานระดับบุคคล ระดับหน่วยงาน และระดับองค์กร ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ ตามพนธกิจและ
                                                                                                   ั
                  วิสัยทัศน์ขององค์กรได้อย่างแท้จริง

                  ประโยชน์จากการจัดท าแผนพัฒนารายบุคคล


                                                   ั
                         เพอใช้เป็นเครื่องมือในการพฒนาจุดอ่อนและสร้างจุดแข็งของบุคลากรเป็นรายบุคคล ท าให้
                           ื่
                  บุคลากรได้รับการพฒนาโดยสอดคล้องกับหลักสมรรถนะและมาตรฐานก าหนดต าแหน่ง บรรลุเป้าหมายใน
                                   ั
                  สายอาชีพ และเชื่อมโยงตอบสนองความต้องการหรือเป้าหมายในระดับหน่วยงานและองค์กร

                           ั
                  โดยแผนพฒนารายบุคคล (IDP) เป็นแผนปฏิบัติการในรายละเอียดที่จะพฒนาบุคลากรสู่เป้าหมายที่
                                                                                    ั
                  องค์กรคาดหวังให้เกิดขึ้น ทั้งนี้ ผลจากแผนดังกล่าวที่รวบรวมได้จะถูกน ามาใช้ประโยชน์ในการพฒนา
                                                                                                        ั
                  ทรัพยากรบุคคลเพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ดังนี้
                      1.  ระดับบุคคล ใช้เป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง ส าหรับการพัฒนาจุดอ่อนและสร้าง

                         จุดแข็งในการปฏิบัติงานของตนเอง

                      2.  ระดับหน่วยงาน ใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้บังคับบัญชาและเป็นข้อมูลประกอบการวางแผนพฒนา
                                                                                                        ั
                         บุคลากรของหน่วยงาน
                      3.  ระดับองค์กร ใช้ข้อมูลแผนพัฒนารายบุคคลนี้ในการวิเคราะห์หาความต้องการในการพัฒนาและ

                         ความจ าเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลจากข้อมูลรายบุคคล อันจะน าไปสู่การปรับปรุงเนื้อหา

                         การพฒนา วิธีการพัฒนา และใช้พฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการและความจ าเป็น
                              ั
                                                       ั
                         ในการพฒนาบุคลากรในแต่ละต าแหน่งสายงานและระดับ ซึ่งในระยะยาวอาจใช้เป็นข้อมูล
                                 ั
                                       ิ
                         ประกอบการพจารณาปรับปรุงหลักสมรรถนะและมาตรฐานก าหนดต าแหน่งให้รองรับกับ
                         สภาพการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต่อไป






                                                               2
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11