Page 24 - แนวทางการพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนารายบุคคล Y
P. 24
5. ติดตามประเมินผลการเรียนรู้และความสามารถในทักษะการท างานของผู้ติดตามแม่แบบ โดยให้
โอกาสบุคลากรในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งแม่แบบและผู้บังคับบัญชาต้องประเมินผลการฝึกปฏิบัติ
ของบุคลากร ให้ค าปรึกษาแนะน า และชี้แจงสิ่งที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติภายหลังจาก
การติดตามสังเกตเสร็จสิ้น
7.การ ป็นพ ล ยง (Mentoring)
(รายงานจ านวนชั่วโมงไม่เกินกว่า 20 ชั่วโมง ต่อหัวข้อวิชา)
การเป็นพี่เลี้ยง เป็นอีกวิธีการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล วิธีการนี้ต้องใช้ความคิดในการวิเคราะห์
ั
รับฟง และน าเสนอทิศทางที่ถูกต้องให้อีกฝ่าย โดยเน้นการมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา และก าหนดเป้าหมาย
เพื่อให้งานบรรลุผลส าเร็จ เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างพี่เลี้ยง (Mentor) และผู้รับ
ค าแนะน า (Mentee) จากผู้มีความรู้ความช านาญให้กับผู้ไม่มีประสบการณ์หรือมีประสบการณ์ไม่มากนัก
ี่
ี่
ลักษณะส าคัญของการเป็นพเลี้ยง คือ ผู้เป็นพเลี้ยงอาจเป็นบุคคลอื่นได้ ไม่จ าเป็นต้องเป็น
ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าโดยตรง ท าหน้าที่สนับสนุน ให้ก าลังใจ ช่วยเหลือ สอนงาน และให้ค าปรึกษา
ื่
แนะน า ดูแลทั้งการท างาน การวางแผนเป้าหมายในอาชีพให้กับบุคลากรเพอให้ผู้รับค าแนะน า
มีความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น รวมถึงการใช้ชีวิตส่วนตัวที่เหมาะสม
โดยมีรูปแบบการด าเนินการ แบ่งเป็น 2 แบบ ดังนี้
ระยะสั้น ระยะยาว
พี่เลี้ยงเป็นบุคลากรที่มีต าแหน่งในระดับ ท าเป็นโครงการ ที่มีการมอบหมาย
แบบเป็นทางการ ที่สูงกว่า ได้รับมอบหมายให้ค าแนะน า พี่เลี้ยง -ผู้รับค าแนะน า
แก่ผู้รับค าแนะน าที่เป็นบุคลากรระดับ อย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้รับค าแนะน า
ต่ ากว่า เช่น การเป็นพี่เลี้ยงของบุคลากรที่เข้า มีทักษะตามที่องค์กรต้องการและมี
มาท างานใหม่หรือย้ายมาใหม่ เป็นต้น ความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ
บุคลากรที่ระดับต่ ากว่า บุคลากรที่มีระดับต่ ากว่ามาขอ
มาขอค าแนะน าจากบุคลากรที่มี ค าแนะน าจากบุคลากรที่มีต าแหน่ง
แบบไม่เป็นทางการ ต าแหน่งในระดับที่สูงกว่า ในระดับที่สูงกว่าในเรื่องใด
อย่างไม่เป็นทางการในระยะเวลา เรื่องหนึ่งและมีความสัมพันธ์
สั้นๆ จึงท าให้ความสัมพันธ์ กันยาวนาน
ไม่เกิดความต่อเนื่อง
20