Page 26 - แนวทางการพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนารายบุคคล Y
P. 26
ั
ี่
4. ฝึกปฏิบัติ โดยพเลี้ยงต้องสร้างบรรยากาศของความไว้เนื้อเชื่อใจมีการเปิดใจระหว่างกน
โดยไม่ก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวจนเกินไป พยายามให้ผู้รับค าแนะน าภาคภูมิใจรู้จักคุณค่าและ
ยอมรับในความสามารถของตนเอง และสร้างความรู้สึกผูกพนร่วมกันในเป้าหมายและ
ั
ความส าเร็จที่เกิดขึ้นจากการท างาน ตลอดจนต้องก าหนดระยะเวลาในการพูดคุยและตกลง
ร่วมกันถึงเป้าหมายที่ต้องการให้ประสบความส าเร็จเป็นระยะ
ี่
5. ติดตามประเมินผล พเลี้ยงต้องประเมินผลการท างาน การรับรู้ และทัศนคติของบุคลากร ผู้รับ
ค าแนะน าว่าได้ปรับตัวในการท างาน และเปิดโอกาสพดคุยและสอบถามประเด็นที่สงสัย รวมทั้ง
ู
ู
สร้างความมั่นใจให้กับผู้รับค าแนะน าว่าเมื่อสิ้นสุดเวลาแล้ว ยังสามารถพดคุยขอค าปรึกษา
จากพี่เลี้ยงได้ เพื่อไม่ให้เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวหรือวิตกกังวลใจในการท างานหรือการใช้ชีวิต
อยู่ในองค์กร
8.การมอบหมายงาน (Job Assignment)
(รายงานจ านวนชั่วโมงไม่เกินกว่า 20 ชั่วโมง ต่อหัวข้อวิชา)
การมอบหมายงาน เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนาบุคลากรและเป็นที่นิยม โดยเน้น
การกระจายงานในหน้าที่ความรับผิดชอบ และมอบอ านาจการตัดสินใจภายในขอบเขตที่ก าหนดให้ผู้อื่น
ไปปฏิบัติ ซึ่งหากสังเกตจากผู้บริหารระดับหัวหน้าที่มีความมานะทุ่มเทท างานทุกอย่างที่ขวางหน้า
แม้กระทั่งงานของลูกน้องก็ตาม อาจมีผู้บริหารตั้งค าถามว่าแล้วจะท าอย่างไร เมื่องานในความรับผิดชอบ
มีมากและต้องจัดล าดับความส าคัญ ซึ่งการมอบหมายกระจายอ านาจ ต้องมีความไว้วางใจเป็นส่วนส าคัญ
ั
ดังนั้น การมอบหมายงาน นอกจากเป็นการพฒนาบุคลากรแล้วยังช่วยแก้ปัญหางานผู้บริหารให้บรรเทา
เบาบางลงได้
โดยจ าแนกวัตถุประสงค์ของการมอบหมายงานเป็น 3 ข้อ ดังนี้
1. เพื่อช่วยผู้บริหารให้มีเวลามากขึ้นในการพัฒนาตนเอง แก้ปัญหางาน หรือคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่
2. เพื่อพัฒนาบุคลากรด้วยการเปิดโอกาสให้ใช้ความรู้ความสามารถในการท างานเพิ่มยิ่งขึ้น
3. เพอเตรียมความพร้อมบุคลากรส าหรับเป็นหัวหน้างานในอนาคต ด้วยการประเมินศักยภาพ
ื่
ของบุคลากรก่อนเลื่อนระดับที่สูงขึ้น
22