Page 49 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 49

๔๒


               ผูรองประสงคอางเปนพยานหลักฐานรวมอยูในสํานวน กระบวนการนําสืบเอกสารประกอบการเบิกความจะ

               เริ่มจากการที่ผูรอง (พยาน) หรือทนายผูรองแสดงตนฉบับเอกสารใหปรากฏทางจอภาพ เพื่อใหศาล

                                                                      ๖๐
               ตรวจสอบความถูกตองกับสําเนาเอกสารที่ยื่นไวแลวในสํานวน  หากตรวจสอบแลวถูกตองตรงกันกับ
               สําเนาเอกสารในสํานวนจึงรับสําเนาเอกสารไวเปนพยานหลักฐานแทนตนฉบับ และหมายรับพยาน
               เอกสารนั้นตามปกติ (หมาย ร. …) เวนแตมีความจําเปนตองใชตนฉบับเอกสาร ศาลอาจกําหนดให

               คูความสงตนฉบับเอกสารตอศาลในภายหลังก็ได
                                                          ๖๑
                                     ขอสังเกต หากในวันนัดไตสวนคํารองขอจัดการมรดกทางอิเล็กทรอนิกส

               ผูรองและทนายผูรองประสงคอางเอกสารประกอบคําเบิกความพยานบุคคล ผูรองสามารถสงเอกสาร

               ที่ประสงคอางตอศาลผานระบบบริการออนไลนศาลยุติธรรม (CIOS) และใหเจาหนาที่ศาลจัดทําสิ่งพิมพ
                                                          ๖๒
               ออกของเอกสารดังกลาวเพื่อเก็บรวมไวในสํานวน




                                     (๒) การนําสืบเอกสารในคดีที่ยื่นคํารองทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส






                       ๖๐  หากภาพตนฉบับเอกสารที่ปรากฏทางจอภาพไมชัดเจนเพียงพอใหศาลตรวจสอบความถูกตองตรงกันกับสําเนา
               เอกสารได อนอาจเกิดจากคุณภาพของสัญญาณอินเทอรเน็ต คุณภาพของกลอง หรือขีดความสามารถของแอปพลิเคชัน เปนตน
                        ั
               ศาลอาจแนะนําใหทนายผูรองจัดทําเอกสารดังกลาวใหอยูในรูปแบบไฟล PDF. แลว Share screen เพื่อใหศาลตรวจสอบ
               ความถูกตองตรงกันของตนฉบับเอกสารดังกลาวกับสําเนาเอกสาร และ/หรือ ใหจัดสงตนฉบับเอกสารดังกลาวตอศาลเพิ่มเติม
               ในภายหลังก็ได

                       ๖๑  ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๒๕ “ในการสืบพยาน ใหคูความที่นําสืบเอกสารหรือภาพถายเปดไฟลเอกสารหรือภาพถาย
               นั้นในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส แลวแสดงภาพเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวทางจอภาพของระบบ
               อิเล็กทรอนิกสใหศาล พยานและคูความทุกฝายตรวจดู (share screen) หรือแสดงตนฉบับเอกสารหรือวัตถุพยานใหปรากฏ

               ทางจอภาพของระบบอิเล็กทรอนิกสเพื่อใหตรวจสอบความถูกตองกับสําเนาเอกสารหรือภาพถายที่ไดยื่นไวในสํานวนแลว
                       คูความที่นําเอกสารหรือภาพถายมาใชถามคานพยานตองแปลงเอกสารหรือภาพถายใหอยูในรูปแบบขอมูล

               อิเล็กทรอนิกส แลวแสดงภาพเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวทางจอภาพของระบบอิเล็กทรอนิกสใหศาล
               พยานและคูความทุกฝายตรวจดู (share screen) และตองสงเอกสารหรือภาพถายในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นใหศาล
               ทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควรเพื่อจัดเก็บเปนสํานวนความ”
                       ๖๒  ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๒๔ วรรคสอง “เอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหนึ่งถือเปนเอกสาร
               ตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิมตามขอ ๑๘ แหงขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทาง

               อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ในกรณีที่ตองจัดทําสิ่งพิมพออกของเอกสารดังกลาวเพื่อจัดเก็บเปนสํานวนความ ใหคูความที่อาง
               เอกสารเปนผูรับผิดชอบคาจัดทําเอกสาร หากจําเปนตองใชตนฉบับอาจกําหนดใหคูความที่อางเอกสารนั้นนํามาสงตอศาล
               ภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควร”
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54