Page 52 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 52

๔๕


               คดีทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งกําหนดวา “เมื่อพยานเบิกความเสร็จและองคคณะผูพิพากษาอานบันทึก

               คําเบิกความพยานแลว ใหเจาหนาที่จัดใหคูความที่อยูในหองพิจารณาลงลายมือชื่อ แลวแปลงบันทึก

               คําเบิกความพยานดังกลาวใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสนําเขาระบบอิเล็กทรอนิกส ใหคูความ

               และบุคคลที่เกี่ยวของที่อยูนอกศาลตรวจดูทางจอภาพและลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสแสดงรับรูหรือ
               รับรองในเอกสารนั้น หากไมสามารถลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสไดถือวาเปนกรณีที่บุคคลดังกลาว

               ลงลายมือชื่อไมได” และวรรคสองกําหนดวา “ความในวรรคกอนใหนํามาใชบังคับแกการลงลายมือชื่อ

               ของคูความในรายงานกระบวนพิจารณาโดยอนุโลม” ดังนั้น เมื่อศาลอานบันทึกคําใหการและรายงาน

                                                                                                        ๖๗
               กระบวนพิจารณาใหคูความฟงเรียบรอยแลว ยอมถือวาเปนกรณีที่คูความลงลายมือชื่อไมได
               และถือวาคูความทราบและลงลายมือชื่อในบันทึกคําใหการและรายงานกระบวนพิจารณาแลว
               ตามขอกําหนดประธานศาลฎีกาและประกาศสํานักงานศาลยุติธรรมดังกลาว จึงไมตองจัดใหคูความ

               ลงลายมือชื่อใด ๆ ในบันทึกคําใหการและรายงานกระบวนพิจารณาที่จัดทําขึ้นอีก

                              ๖) กระบวนพิจารณากรณีผูมีสวนไดเสียมายื่นคําคัดคานคํารองขอจัดการมรดกที่ศาล


                              ดังที่กลาวมาแลวกอนหนาวา การที่ศาลมีคําสั่งอนุญาตใหผูรองไตสวนคํารองขอ
               จัดการมรดกทางอิเล็กทรอนิกส ไมไดทําใหผูมีสวนไดเสียที่ประสงคยื่นคําคัดคานเสียสิทธิในการตอสูคดี

               เพราะผูมีสวนไดเสียสามารถเลือกเขารวมกระบวนพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสเชนเดียวกับผูรอง หรือ

               จะเดินทางมารวมกระบวนพิจารณาดวยตนเองที่ศาลตามปกติก็ได

                              หากคูความสามารถตกลงเปนผูจัดการมรดกรวมกันได ศาลอาจดําเนินการไตสวน

               คํารองขอจัดการมรดกโดยไตสวนพยานผูรองผานทางอิเล็กทรอนิกสและไตสวนพยานผูคัดคานตอหนา
               ศาลตามแนวทางการไตสวนทางอิเล็กทรอนิกสที่กลาวมาแลวขางตน หรือหากคูความไมสามารถตกลง

               กันไดและศาลเห็นสมควรใหเลื่อนคดีไปเพื่อนัดสืบพยานผูรองและผูคัดคานในนัดหนา กอนเสร็จสิ้น

               กระบวนพิจารณา ใหศาลสอบถามความประสงคของคูความเสียกอนวาคูความประสงคสืบพยานทาง

               อิเล็กทรอนิกสหรือไม หากคูความฝายใดประสงคและศาลมีคําสั่งอนุญาตใหสืบพยานทางอิเล็กทรอนิกส

               ก็ใหแจงชองทางการติดตอระหวางศาลและคูความในวันนัด เชน หมายเลขโทรศัพท จดหมาย
               อิเล็กทรอนิกส (e-mail address) หรือ Line ID เปนตน

                              การลงชื่อในบันทึกคําใหการและรายงานกระบวนพิจารณาใหเปนไปตามประกาศ

               สํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ขอ ๒๖ ซึ่งกําหนดวา “เมื่อพยานเบิกความเสร็จและองคคณะผูพิพากษาอานบันทึกคําเบิกความพยานแลว

               ใหเจาหนาที่จัดใหคูความที่อยูในหองพิจารณาลงลายมือชื่อ แลวแปลงบันทึกคําเบิกความพยานดังกลาว

               ใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสนําเขาระบบอิเล็กทรอนิกสใหคูความและบุคคลที่เกี่ยวของที่อยู

               นอกศาลตรวจดูทางจอภาพและลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสแสดงรับรูหรือรับรองในเอกสารนั้น


                       ๖๗  หลักการนี้สอดคลองกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๕๐ (๒)
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57