Page 50 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 50

๔๓


                                     คดีรองขอจัดการมรดกที่ยื่นคํารองตั้งตนคดีผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส

               (e-Filing System) มีความแตกตางจากคดีทั่วไป เนื่องจากสํานวนคดีรองขอจัดการมรดกประเภทนี้

               ถูกจัดเก็บไวในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส และพยานเอกสารที่ผูรองยื่นไวในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส

               ใหถือวาเปนตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิมตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวย
               วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ ๑๘ ดังนั้น กระบวนการนําสืบเอกสารในคดี

               ที่ยื่นคํารองขอจัดการมรดกทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสจึงมีความแตกตางกับคดีทั่วไปบางประการ

                                     ในวันนัดไตสวนคํารองขอจัดการมรดกทางอิเล็กทรอนิกส ศาลมีเพียง

               กากสํานวนคดีรองขอจัดการมรดก (กากสํานวน e-Filing) เทานั้น เมื่อผูรอง (พยาน) หรือทนายผูรอง

               แสดงตนฉบับเอกสารใหปรากฏทางจอภาพ ศาลอาจตรวจสอบความถูกตองตรงกันกับพยานเอกสาร
                                               ๖๓
               ที่ยื่นไวในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส  หากตรวจสอบแลวถูกตองตรงกันก็ใหรับพยานหลักฐานที่อางสง
               ไวในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสเปนพยานหลักฐานในสํานวนโดยไมตองหมายรับพยานเอกสารนั้น

               แตหากมีความจําเปนตองใชตนฉบับเอกสาร ศาลอาจกําหนดใหคูความสงตนฉบับเอกสารตอศาล

               ในภายหลังก็ได

                                     ขอสังเกต หากในวันนัดไตสวนคํารองขอจัดการมรดกทางอิเล็กทรอนิกส

               ผูรองและทนายผูรองประสงคอางเอกสารเพิ่มเติม หรือสงบันทึกคําเบิกความพยานตอศาล ผูรองตองสง

               เอกสารที่ประสงคอางเพิ่มเติมและบันทึกคําเบิกความพยานตอศาลผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส
               (e-Filing System) โดยในกรณีนี้ เจาหนาที่ศาลไมจําตองจัดทําสิ่งพิมพออกของเอกสารดังกลาว

                                                                                                       ๖๔
               เพื่อเก็บรวมไวในกากสํานวนแตอยางใด เพราะสํานวนคดีหลักอยูในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสอยูแลว
                                     กลาวโดยสรุปสําหรับการนําสืบเอกสารในคดีที่นัดไตสวนคํารองขอจัดการมรดก

               ทางอิเล็กทรอนิกส คูความและทนายความตองแสดงตนฉบับเอกสารใหศาลตรวจสอบผานจอภาพ

               หากศาลตรวจสอบแลวถูกตองตรงกันกับสําเนาเอกสารที่อยูในสํานวน ก็อาจหมายรับสําเนาเอกสารนั้น
               เปนพยานหลักฐานในสํานวนแทนตนฉบับได เวนแตในคดีรองขอจัดการมรดกที่ยื่นผานระบบรับสง





                       ๖๓  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

               ขอ ๑๘ ใหถือวาพยานเอกสารที่ยื่นในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System)
               เปนตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิมอยูแลว อยางไรก็ตาม หากศาลประสงคตรวจสอบความถูกตองแทจริงก็ใหคูความ
               แสดงตนฉบับเอกสารผานจอภาพได
                       ๖๔  เทียบเคียงประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดี

               ทางอิเล็กทรอนิกส ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๒๔ วรรคสอง“เอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามวรรคหนึ่งถือ
                                                                 
                                                                                               ิ
               เปนเอกสารตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิมตามขอ ๑๘ แหงขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพจารณาคดีทาง
               อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ในกรณีที่ตองจัดทําสิ่งพมพออกของเอกสารดังกลาวเพื่อจัดเก็บเปนสํานวนความ ใหคูความที่อาง
                                                     ิ
               เอกสารเปนผูรับผิดชอบคาจัดทําเอกสาร หากจําเปนตองใชตนฉบับอาจกําหนดใหคูความที่อางเอกสารนั้นนํามาสงตอศาลภายใน
               เวลาที่ศาลเห็นสมควร”
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55