Page 54 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 54

๔๗


               อาจแจงความประสงคตอศาลตามชองทางที่ระบุไวในหมายเรียกวาตนประสงคเขารวมกระบวนพิจารณา

               ทางอิเล็กทรอนิกสก็ได

                                     อยางไรก็ตาม หากโจทกไมไดยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ซึ่งในกรณีนี้โจทกตองเดินทางมาเขารวมกระบวนพิจารณาที่ศาลตามปกติในวันนัด จําเลยที่ประสงคจะ
                                                                                                      ๖๙
               ใชสิทธิเขารวมกระบวนพิจารณาคดีก็อาจยื่นคํารองขอเขารวมกระบวนพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสก็ได
                                     (๒) ศาลเห็นสมควร

                                     นอกจากการเริ่มตนยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสโดยคูความ

               ตามที่กลาวมาแลว ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓

               ขอ ๔ และขอ ๑๓ ยังใหอํานาจศาลในการกําหนดใหดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส 
               ไดดวย ดังนั้น “ศาล” จึงอาจกําหนดใหนั่งพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสได อยางไรก็ตาม ในการใชอํานาจ

               กําหนดใหนั่งพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส ศาลจะตองคํานึงถึงความสะดวกและประหยัดสําหรับ

               คูความที่ยังไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีดวย หากคูความไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีไดโดยสะดวกและ

               ประหยัด ศาลไมควรกําหนดใหมีการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ในทางกลับกัน หากศาลเห็นวา

               คูความมีความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีได เชน คูความมีความสามารถในการยื่นคําฟองผานระบบ

               รับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System) ได เปนตน ยอมแสดงวาคูความมีความสามารถเขาถึงเทคโนโลยี

               ในการพิจารณาคดีดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เชนนี้ ศาลก็ชอบที่จะใชอํานาจกําหนดใหพิจารณาคดี
               ทางอิเล็กทรอนิกสได

                                     ขอสังเกต ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ ๔ และขอ ๑๓ ตางกําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรมประกาศกําหนดรายละเอียด

               เกี่ยวกับประเภทคดี หลักเกณฑ และวิธีการในการใชวิธีพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส ดังนั้น การใชอํานาจ

                                                                                                       ๗๐
               กําหนดใหพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสจะตองคํานึงถึงหลักเกณฑตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรมดวย






                       ๖๙  จําเลยที่ประสงคใหการ ไกลเกลี่ย และสืบพยาน อาจยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อเขารวม

                                                              ิ
               กระบวนพิจารณาในวันนัดใหการ ไกลเกลี่ย และสืบพยานทางอเล็กทรอนิกสก็ได โดยอยางชาที่สุดควรยื่นคํารองขอพิจารณา
               ทางอิเล็กทรอนิกสกอนวันนัดใหการไกลเกลี่ย และสืบพยาน เพื่อใหศาลและเจาหนาที่ศาลเตรียมสํานวนคดีลวงหนา
               โดยบรรยายคํารองมาเชนเดียวกับกรณีที่โจทกยื่นคํารองขอพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้ หากมีเอกสารใด ๆ ตองยื่น
               ตอศาลอาจยื่นผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (ระบบ e-Filing หรือระบบ CIOS) แลวแตกรณี

                       ๗๐  การเริ่มตนของกระบวนพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสอาจเริ่มตนโดยศาลเห็นสมควรหรือคูความรองขอก็ได
               เนื่องจากประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๑๒ กําหนดไวชัดเจนวา “เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูความรองขอ ไมวาคูความฝายใดฝาย
               หนึ่งขาดนัดหรือไมก็ตาม ศาลอาจกําหนดใหมีการนั่งพิจารณาโดยที่คูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของในคดีอยูนอกศาลโดยวิธีการ
               ทางอิเล็กทรอนิกส...”
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59