Page 53 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 53

๔๖


               หากไมสามารถลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสไดถือวาเปนกรณีที่บุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อไมได” และ

               วรรคสองกําหนดวา “ความในวรรคกอนใหนํามาใชบังคับแกการลงลายมือชื่อของคูความในรายงาน

               กระบวนพิจารณาโดยอนุโลม”


               ๓.๒ กระบวนพิจารณาคดีผูบริโภค คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก และคดีแพงสามัญทางอิเล็กทรอนิกส


                       ๓.๒.๑ กระบวนพิจารณากอนวันนัด

                              กระบวนพิจารณากอนวันนัดพิจารณาในคดีผูบริโภค คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก

               และคดีแพงสามัญทางอิเล็กทรอนิกสมีประเด็นสําคัญที่ตองพิจารณา ๕ ประเด็น ไดแก

                              ๑) คดีผูบริโภค คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก และคดีแพงสามัญที่สามารถนั่ง

               พิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส

                              คดีผูบริโภค คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก และคดีแพงสามัญที่สามารถนั่งพิจารณา

               ทางอิเล็กทรอนิกสได อาจเปนคดีที่โจทกหรือทนายความยื่นคําฟองตั้งตนคดีแบบปกติ (คดีที่ยื่นคําฟอง

               เปนกระดาษ) หรือเปนคดีที่ยื่นคําฟองตั้งตนคดีผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System) ก็ได
               และไมวาในคดีนั้นจําเลยจะยื่นคําใหการตอสูคดีหรือไม ก็สามารถพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ไดทั้งสิ้น

                              ๒) ผูมีสิทธิยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสในคดีผูบริโภค

               คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก และคดีแพงสามัญ

                              การยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสถือเปนการยื่นคํารองขอใหดําเนิน

               กระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณา

               คดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ ๔  ซึ่งหากพิจารณาขอกําหนดดังกลาว การเริ่มตนของ
                                                       ๖๘
               การนั่งพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสอาจเกิดขึ้นจากเหตุ ดังตอไปนี้

                                     (๑) คูความรองขอ

                                     โดยทั่วไปแลว “โจทก” ซึ่งเปนฝายเริ่มตนคดีผูบริโภค คดีมโนสาเร คดีไมมีขอยุงยาก

               และคดีแพงสามัญยอมมีสิทธิยื่นคํารองขอใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสได และเมื่อศาลมีคําสั่ง

               อนุญาตใหพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ก็จะมีการสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหแกจําเลย

               โดยแจงใหจําเลยทราบดวยวา คดีนี้จะดําเนินกระบวนพิจารณาในวันนัดผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส

               หากจําเลยประสงคไกลเกลี่ย ยื่นคําใหการ และสืบพยาน จําเลยอาจเดินทางมาที่ศาลไดตามปกติ หรือ



                       ๖๘  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

               ขอ ๔ “เพื่อใหการดําเนินกระบวนพิจารณาเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูความรองขอ
               ศาลอาจกําหนดใหดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการตามขอกําหนดนี้ โดยคํานึงถึงความสะดวกและประหยัดสําหรับคูความ
               ที่ยังไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีดวย …”
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58