Page 207 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 207
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
2.2 พยานหลักฐานทางเศรษฐศาสตร์ : ในคดีน้มีพยานหลักฐานทางเศรษฐศาสตร์
ี
ประกอบด้วย
ก. โครงสร้างตลาด (market structure)
บริษัทฮอนด้ามีส่วนแบ่งตลาดของรถจักรยานยนต์ประเภทสกูตเตอร์ (automatic scooter)
73% , ยามาฮ่า 26%, ซูซูกิ 1% , tvs 0% รวมทั้งลักษณะตลาดดังกล่าวเป็นอุตสาหกรรมมีผู้ขาย
ขนาดใหญ่จํานวนน้อยราย (Oligopoly)
ข. พยานทางเศรษฐศาสตร์ที่บ่งถึงการกระทํา
เม่อบริษัทฮอนด้าทําการปรับราคาในปีค.ศ. 2014 โดยบริษัทซูซูกิและ TVS ไม่ได้
ื
ี
ปรับราคาตามเพ่อท่จะรักษาส่วนแบ่งตลาดไว้ หากบริษัทยามาฮ่าแข่งขันกับบริษัทฮอนด้าแล้ว
ื
บริษัทยามาฮ่าย่อมไม่ปรับราคาขึ้นตามเพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดของตน
ค. พยานหลักฐานในส่วนผลการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของหน่วยผลิตและ
อุตสาหกรรม
ั
ึ
ี
ราคาของสินค้าน้นสูงข้นในช่วงเวลาท่ตรวจพบว่ามีการกระทําความผิดฐานตกลงราคา
ร่วมกัน โดยมีราคาที่สูงกว่าระยะเวลาก่อนและหลังช่วงที่มีการกระทําความผิด
3. ค�าตัดสิน
คณะกรรมการแข่งขันทางการค้าแห่งประเทศอินโดนีเซีย (KPPU) ตัดสินว่าบริษัทฮอนด้า
และบริษัทยามาฮ่ากระทําความผิดต่อมาตรา 5 (1) แห่งพระราชบัญญัติการป้องกันการผูกขาด
และการปฏิบัติทางการค้าท่ไม่เป็นธรรม ท้งน้มีการอุทธรณ์คําตัดสินคณะกรรมการต่อศาล
ี
ั
ี
ึ
จนคดีถูกนําข้นสู่ศาลฎีกาแต่ศาลฎีกาปฏิเสธท่จะรับฟังพยานแวดล้อมในคดีดังกล่าวโดยลําพัง
ี
เพื่อลงโทษผู้กระทําความผิด
4. วิเคราะห์ค�าตัดสินโดยผู้เขียน
ผู้เขียนเห็นว่า จากโครงสร้างตลาดของอุตสาหกรรมดังกล่าวมีลักษณะเป็นตลาดประเภท
ี
ึ
ท่มีผู้ขายน้อยราย (Oligopolistic market) กล่าวคือ มีผู้ประกอบการซ่งมีส่วนแบ่งทางตลาด
รถจักรยานยนต์ประเภทสกูตเตอร์ (automatic scooter) เพียง 4 ราย ในประเทศอินโดนีเซีย
โดยบริษัทฮอนด้ามีส่วนแบ่งตลาดถึง 73% ตามด้วยบริษัทยามาฮ่า 26% ซึ่งหากบริษัทฮอนด้า
และบริษัทยามาฮ่า มีการแข่งขันกันในสภาวะการณ์ปกติ ภายหลังจากที่บริษัทฮอนด้าปรับราคา
่
ื
ํ
สูงข้นจะส่งผลให้ส่วนแบ่งทางตลาดและยอดขายของบริษัทฮอนด้าลดตาลงเน่องจากภายหลังจาก
ึ
ที่บริษัทฮอนด้าขึ้นราคาจาก P เป็น P ความต้องการของลูกค้าจะขยับจากปริมาณ Q เป็น Q
1 2 1 2
205