Page 253 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 253

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                          ี
                                              ํ
                            ื
                                       ื
                                              ้
                                                                                    ี
                                                                                 ื
                    ในส่วนเร่องการเป็นพ้นท่รับนา เพ่อให้เห็นว่ามีการใช้ประโยชน์ในพ้นท่ว่างเปล่าใน
                                                   ื
            ลักษณะเกษตรกรรม เจ้าของที่ดินจึงมีการตัดถางต้นไม้และพืชคลุมดินซึ่งเดิมอยู่ในพื้นที่ออกไป
                                                                                ี
                         ี
                      ื
                                                                       ้
                                                                             ื
                                             ึ
            และปรับพ้นท่ด้วยการถมท่ดินให้สูงข้น ทําให้ประโยชน์ในการรับนําของพ้นท่ว่างเปล่าเหล่าน  ้ ี
                                    ี
                     ้
            หมดไป นาฝนที่ตกลงมาจะชะดินไหลลงสู่ถนน ทําให้เกิดปัญหานาท่วมขังในเขตเมืองเพิ่มขึ้น
                     ํ
                                                                     ํ
                                                                     ้
            4. บทสรุปและข้อเสนอแนะ
                                                                   ั
                                                                       ั
                                                                        ิ
                      ื
                                                                                     ิ
                                                                               ิ
                                                                                     ่
                                                                                            ้
                                                                                         ู
                                                                             ่
                                                                             ี
                                                                            ี
                    เม่อเปรียบเทียบกับหลักแนวคิดทางภาษี พบว่า พระราชบญญตภาษทดนและสงปลกสราง
                                  ี
                                                                                            ้
            พ.ศ. 2562 มีบทบัญญติท่ไม่สอดคล้องกบหลักความเป็นกลาง (Neutrality) ทางภาษี และไมสอดคลอง
                                             ั
                               ั
                                                                                      ่
            กับท้งหลักความเท่าเทียมกันในแนวนอน (Horizontal Equity) และความเท่าเทียมในแนวต้ง
                 ั
                                                                                              ั
            (Vertical Equity) อีกทั้งไม่ได้คํานึงถึงหลักการเรื่องความสามารถในการเสียภาษี (Ability to Pay)
                                                             ่
                                                                      ่
                                    ่
                                    ื
                   ี
            ของผเสยภาษ นอกจากนเมอพจารณาตามหลกความแนนอนและงาย (Certainty and Simplicity)
                        ี
                                  ี
                                  ้
                                       ิ
                 ู
                                                    ั
                 ้
            และความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) พบว่า พระราชบัญญัติภาษีท่ดินและส่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
                                                                    ี
                                                                            ิ
            มีบทบัญญัติท่ไม่ชัดเจน และนําไปสู่การตีความกฎหมายเพ่อเล่ยงภาษีได้ และทําให้เกิดภาระ
                                                                    ี
                                                                 ื
                         ี
                                                                     ื
            กับรัฐในกระบวนการประเมินภาษี รวมไปถึงบทบัญญัติในส่วนอ่น ๆ ยังอาจทําให้เกิดปัญหา
            เร่องการพิจารณาบุคคลท่ผู้เสียภาษี การเปล่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ของท่ดินและ
                                                     ี
                                                                                        ี
                                   ี
              ื
            ส่งปลูกสร้างระหว่างปีภาษี ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคลท่มีหน้าท่ชําระภาษีแทน และผลกระทบ
              ิ
                                                                     ี
                                                               ี
            กับที่ดินว่างเปล่ากับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
                    ดังนี้ จึงสมควรปรับปรุงพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ให้มีความ
            สอดคล้องกับหลักแนวคิดทางภาษี และแก้ไขบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เกิดความชัดเจน รัดกุม
            เพื่อนําไปสู่การจัดเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพอันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศต่อไป
                                                                                             251
   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258