Page 258 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 258
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ึ
ื
อนุสัญญาภาษีซ้อนข้นมาเพ่อเป็นแนวทางแก่นานาประเทศในการเจรจาและจัดทําอนุสัญญา
ุ
ี
้
ํ
ั
็
ื
ั
่
ั
ี
ั
ู
ํ
ภาษซ้อนกบประเทศค่ค้าของตนเพอขจัดปัญหาการจดเกบภาษซาซ้อนอนเป็นอปสรรคสาคญ
ทางการค้า ตลอดจนเพ่อสร้างความชัดเจนแก่วิสาหกิจข้ามชาติในการบริหารจัดการภาระทาง
ื
ภาษี การไหลเวียนของผลประโยชน์จากภาคธุรกิจระหว่างประเทศสู่ภาคธุรกิจภายในประเทศ
คุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศ ตลอดจนการป้องกันมาตรการเลี่ยงหรือหนีภาษีต่าง ๆ อัน
เนื่องมาจากการแลกเปลี่ยนทางการค้า การลงทุน และเทคโนโลยีระหว่างประเทศอีกด้วย
1
ี
อย่างไรก็ตาม รูปแบบการทําการค้าระหว่างประเทศในปัจจุบันเปล่ยนแปลงไป
ตามเทคโนโลยีท่พัฒนาอย่างก้าวกระโดดและไม่มีท่าทีท่จะหยุดย้งการพัฒนาแต่อย่างใด
ี
ี
ั
การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบธุรกิจกับลูกค้าในต่างประเทศในปัจจุบัน ไม่จําเป็นต้องอาศัย
สถานประกอบการถาวรเพ่อหาลูกค้าในประเทศคู่ค้าอีกต่อไป แต่การค้าขายในปัจจุบันเกิดข้น
ื
ึ
ผ่านเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันในโทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ต่าง ๆ ที่ลูกค้า
ื
ี
สามารถพิจารณาเลือกซ้อสินค้าหรือบริการได้จากท่วทุกมุมโลกท่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ั
ส่งผลให้เกิดความซับซ้อนและความยุ่งยากในการจัดเก็บภาษีจากการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ี
ิ
ื
เม่อผู้ประกอบธุรกิจเร่มมีสภาพไร้ตัวตนในประเทศท่ทําการค้าและยังปรากฏว่ามีการใช้กิจการ
ี
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในการวางแผนหลบเล่ยงภาษีเงินได้ในผลกําไรจากการค้าระหว่างประเทศ
ี
ปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้ในปัจจุบันจึงแปรเปล่ยนจากปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้ซําซ้อน
้
กันระหว่างสองประเทศคู่ค้า (ประเทศถนท่อยู่ของวิสาหกิจกับประเทศท่วิสาหกจเข้าไปประกอบ
ิ
ิ
ี
่
ี
ี
ธุรกิจการค้า) ท่ต้องพ่งพาอนุสัญญาภาษีซ้อนเพ่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวไปเป็นปัญหาวิสาหกิจ
ื
ึ
ข้ามชาติวางแผนภาษีโดยใช้รูปแบบกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเคร่องมือ จนแทบจะ
ื
ี
ไม่ต้องเสียภาษีในประเทศท่เข้าไปประกอบธุรกิจการค้าเลย และอาจจะไม่ต้องเสียภาษีในประเทศ
ถิ่นที่อยู่อีกด้วยหรือหากต้องเสียก็เป็นจํานวนไม่มากนัก
ี
ี
บทความฉบับน้จะพาผู้อ่านย้อนกลับไปสู่การค้าระหว่างประเทศแบบด้งเดิม ท่เคย
ั
ดําเนินการผ่านสถานประกอบการถาวรที่ผู้ประกอบธุรกิจตั้งขึ้นในประเทศต่าง ๆ อันเป็นฐานที่
หน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรของประเทศต่าง ๆ ใช้ในการจัดพิจารณาจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบ
ธุรกิจตามแนวทางของต้นแบบอนุสัญญาภาษีซ้อนของ OECD และ UN สู่การลดลงของบทบาท
1 United Nations, United Nations Model Double Taxation Convention between Developed and Developing
Countries, New York (2001), p.vi; Jeffrey Owens and Mary Bennett, “OECD Model Tax Convention- Why it works”, OECD
Observer, no. 269 (Oct. 2008); United Nations, United Nations Model Double Taxation Convention between Developed
and Developing Countries 2017 Update, New York (2017), p.x., Retrieved March 1, 2021 from https://www.un.org/esa/
ffd/wp-content/uploads/2018/05/MDT_2017.pdf.
256