Page 357 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 357
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ื
ศาลแรงงานกลางล่าช้าเกินกําหนดเวลาไปถึง 14 วัน แล้วก็ตาม แต่เม่อศาลแรงงานกลางหยิบยก
ื
ึ
ข้อเท็จจริงตามหนังสือดังกล่าวข้นมารับฟังประกอบพยานหลักฐานอ่น แล้ววินิจฉัยว่า โจทก์ไม่ได้
ํ
ื
ึ
ั
ี
ิ
ั
ํ
เปิดเผยข้อมูลสาคญท่เป็นความลับของจาเลย หนังสอยืนยันข้อเท็จจรงดงกล่าวจงถือเป็น
ั
ั
ี
ํ
พยานหลกฐานของศาลแรงงานกลางเอง ซงศาลแรงงานกลางมอานาจรบฟังหนงสอยนยัน
ึ
ื
ื
่
ั
ข้อเท็จจริงดังกล่าวได้ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
ั
ึ
มาตรา 45 วรรคหน่ง ประกอบข้อกําหนดศาลแรงงานว่าด้วย การดําเนินกระบวนพิจารณาใน
ศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 ข้อ 36 ที่ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่าโจทก์ไม่ได้นําข้อมูลสําคัญ
ที่เป็นความลับของจําเลยไปเปิดเผยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
5. การด�าเนินคดีแบบกลุ่มในศาลแรงงาน
ี
ึ
ั
คดีแรงงานมีลักษณะพิเศษอีกส่วนหน่งท่แตกต่างจากคดีแพ่งท่วไป คือ มักมีกรณ ี
ิ
่
ู
ทลกจ้างถกนายจ้างเลกจ้างหรือโต้แย้งสิทธิในลักษณะเดียวกันหลายคน และนําคดีมาสู่ศาล
ี
ู
่
ึ
ี
ิ
ในคราวเดยวกันเป็นจํานวนมาก ซงตามพระราชบญญัตจัดต้งศาลแรงงานและวิธพิจารณา
ั
ี
ั
คดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 35 วรรคสาม และวรรคสี่ ได้บัญญัติรองรับเกี่ยวกับการดําเนิน
ี
กระบวนพิจารณาคดีลักษณะน้ไว้อยู่แล้ว หากปรากฏว่ามีโจทก์หลายคน ศาลอาจพิจารณาจัดให้
ึ
ั
ั
โจทก์เหล่าน้นแต่งต้งโจทก์คนใดคนหน่งหรือหลายคนเป็นผู้แทนในการดําเนินคดี ซ่งรายละเอียด
ึ
ั
วิธีการแต่งต้งผู้แทนในการดําเนินคดีข้างต้นเป็นไปตามข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 ท่ออกตามความในมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัต ิ
ี
ดังกล่าว เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินกระบวนพิจารณา นอกจากนี้
ั
การแต่งต้งผู้แทนในการดําเนินคดีตามข้อกําหนดศาลแรงงานก็ไม่ได้จํากัดเฉพาะการแต่งตั้ง
ี
ั
ผู้แทนในการดําเนินคดีฝ่ายโจทก์เท่าน้น ในกรณีท่มีจําเลยหลายคน ศาลอาจพิจารณาให้มีผู้แทน
ในการดําเนินคดีฝ่ายจําเลยด้วยก็ได้ โดยตามข้อกําหนดศาลแรงงานดังกล่าวให้อํานาจผู้แทน
ในการดําเนินคดีให้รวมถึงการแต่งต้งทนายความ การยอมรับตามท่คู่ความอีกฝ่ายหน่งเรียกร้อง
ั
ี
ึ
การถอนฟ้อง การประนีประนอมยอมความ การสละสิทธิหรือใช้สิทธิในการอุทธรณ์ หรือการ
ขอให้พิจารณาคดีใหม่ หรือการดําเนินกระบวนพิจารณาในชั้นบังคับคดีด้วย 17
17 เดิม ในเรื่องอํานาจหน้าที่ของผู้แทนในการดําเนินคดี มักจะเกิดปัญหาความไม่ชัดเจนว่าผู้แทนในการดําเนินคดี
ั
ื
สามารถแต่งต้งทนายความหรือบังคับคดีแทนโจทก์ทุกคนได้หรือไม่ ส่งผลให้โจทก์ทุกคนจะต้องลงลายมือช่อในเอกสารแต่งต้ง ั
ทนายความและขอออกหมายบังคับคดีด้วยตนเอง ข้อกําหนดศาลแรงงาน ฯ ฉบับปี 2556 จึงระบุรายละเอียดเกี่ยวกับอํานาจ
ของผู้แทนในการดําเนินคดีให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
355