Page 358 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 358

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                    สําหรับการดําเนินคดีแบบกลุ่มตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเป็นไปตาม
            พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2558
                                              ิ
                                         ุ่
                                                         ี
                                                 ้
                           ํ
               ั
                                  ี
                              ิ
                                                                                   ่
                                                                         ํ
                                                                                         ่
                                                                                             ั
                                                                                         ี
                                                          ่
                                                          ี
                                                           ี
                                                               ี
                                                             ู
            หลกการในการดาเนนคดแบบกลมจะเร่มตนจากคดทมผ้เสยหายเป็นจานวนมากเชนคดีเกยวกบ
            ส่งแวดล้อมหรือผู้บริโภค แต่การดําเนินกระบวนพิจารณาในคดีแบบกลุ่มเม่อพิจารณาตาม
                                                                                 ื
              ิ
            มาตรา 222/1 ถึงมาตรา 222/49 จะเห็นได้ว่ามีข้นตอนค่อนข้างยุ่งยากและซับซ้อนเม่อเทียบกับ
                                                      ั
                                                                                     ื
            การดําเนินคดีแรงงานตามปกติ อย่างไรก็ดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
                                 ั
                                                                            ้
                             ั
                                                                     ้
                                    ้
            มาตรา 222/8 (3) บญญตไวชดเจนวา โจทกในคดแรงงานสามารถรองขอใหดาเนนคดแบบกลมได           ้
                                     ั
                                                 ์
                                  ิ
                                           ่
                                                                                           ุ
                                                                                    ี
                                                      ี
                                                                                           ่
                                                                                ิ
                                                                             ํ
                                                           ี
            โดยมมาตรา 222/4 วรรคสอง บัญญตว่า ในกรณทมการร้องขอให้ดาเนนคดแบบกล่มในคด             ี
                                                          ี
                                              ั
                                                           ่
                                                                                 ี
                                                                          ํ
                                                            ี
                                                                             ิ
                                                                                        ุ
                                               ิ
                 ี
            ซ่งมีกฎหมายกําหนดวิธีพิจารณาความไว้เป็นการเฉพาะ ให้ศาลในคดีน้นมีอํานาจส่งให้ดําเนินคด  ี
              ึ
                                                                         ั
                                                                                   ั
                   ุ
                                                                                           ั
                                                                                             ั
            แบบกล่มและนําวิธพิจารณาแบบกล่มตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพ่งมาใช้บงคบ
                                                                     ิ
                                            ุ
                             ี
            โดยอนุโลม ซึ่งสอดคล้องกับที่บัญญัติไว้ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา
            คดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 ท่ให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
                                           ี
                                 ี
                                                                                     ั
            มาใช้โดยอนุโลมเท่าท่ไม่ขัดหรือแย้งกับวิธีพิจารณาในคดีแรงงาน  เพราะฉะน้น  ในกรณ     ี
            ท่มีการร้องขอให้ดําเนินคดีแบบกลุ่มในคดีแรงงาน ศาลแรงงานจึงต้องพิจารณาดําเนินการ
              ี
            ตามที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 และข้อกําหนด
            ศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 บัญญัติไว้เป็นหลัก
            แล้วจึงพิจารณาการดําเนินคดีแบบกลุ่มตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเป็นประการ
            ถัดไป แต่ปัญหาว่าการจะนําวิธีการดําเนินคดีแบบกลุ่มดังกล่าวมาปรับใช้นั้น ควรจะปรับใช้กับ
            คดีแรงงานประเภทใดหรือมากน้อยเพียงใด
                       ี
                    ดังท่ได้กล่าวมาแล้วว่าหลักการสําคัญในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีแรงงาน คือ
                                                     ึ
                                                        ื
                                           ี
            สะดวก ประหยัด รวดเร็ว และเท่ยงธรรม ซ่งเม่อพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า การดําเนินคด     ี
            แบบกลุ่มค่อนข้างขัดหรือแย้งกับหลักการสําคัญในการดําเนินคดีดังกล่าวหลายส่วนด้วยกัน ในเร่อง
                                                                                            ื
                                                        ั
            หลักความสะดวกในการดําเนินกระบวนพิจารณาน้น การดําเนินกระบวนพิจารณาในคดีแรงงาน
            ไม่จําเป็นต้องมีทนายความ ในกรณีท่มีคู่ความเป็นจํานวนมากสามารถต้งผู้แทนในการดําเนินคด ี
                                            ี
                                                                          ั
            เป็นผู้ดําเนินกระบวนพิจารณาแทนได้ ผู้แทนในการดําเนินคดีเปรียบเสมือนทนายความสามารถ
            ดําเนินการแทนตัวความได้ทุกข้นตอน และศาลแรงงานยังมีระบบนิติกรคอยอํานวยความสะดวก
                                       ั
            ให้แก่คู่ความนับตั้งแต่การร่างคําฟ้อง ทั้งกระบวนพิจารณาในศาลแรงงานยังอยู่บนพื้นฐานของ
                            ิ
                          ู
            ระบบไต่สวน ผ้พพากษามอํานาจค้นหาข้อเทจจรงโดยการถามพยานหรอเรียกเอกสารได้ด้วย
                                    ี
                                                                            ื
                                                        ิ
                                                    ็
            ตนเอง ส่วนหลักความประหยัดในการดําเนินกระบวนพิจารณา เห็นได้ว่า การยื่นฟ้องตลอดจน
            การดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในศาลแรงงานให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องชําระค่าฤชาธรรมเนียม
            356
   353   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363