Page 354 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 354

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                       ั
                    ผลทางกฎหมายของการจดประเด็นข้อพิพาทในคดีแรงงานน้น ศาลฎีกาได้มีคําพิพากษา
                              ี
            วางหลักกฎหมายเก่ยวกับการจดประเด็นข้อพิพาทมาอย่างต่อเน่อง ทําให้การจดประเด็น
                                                                        ื
            ข้อพิพาทในคดีแรงงานมีความเป็นเอกเทศแตกต่างจากการกําหนดประเด็นข้อพิพาทในคดีแพ่ง
            โดยพอจะสรุปได้ ดังนี้

                    1. การจดประเด็นข้อพิพาทไม่ใช่การชี้สองสถาน และพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน
            และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 บัญญัติเร่องการจดประเด็นข้อพิพาทและการดําเนิน
                                                         ื
            กระบวนพิจารณาเพื่อให้เป็นไปโดยประหยัด สะดวก และรวดเร็ว ไว้เป็นการเฉพาะแล้ว กรณีจึง

            ไม่อาจนําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับแก่การจดประเด็น
            ข้อพิพาทและการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงานได้ (ฎีกาที่ 4715-4716/2542)

                    2. การกําหนดประเด็นข้อพิพาทในคดีแรงงานเป็นอํานาจและดุลพินิจของศาลแรงงาน
                             ื
            โดยเฉพาะ และเม่อกําหนดประเด็นข้อพิพาทไปแล้วก็ไม่มีบทบัญญัติใดกําหนดให้ศาลแรงงาน
            ต้องช้ขาดคําคัดค้านการกําหนดประเด็นข้อพิพาทของคู่ความก่อนวันสืบพยาน เพราะการ
                  ี
                       ี
                                    ั
            กําหนดให้ช้ขาดก่อนเช่นน้นทําให้กระบวนพิจารณาดําเนินไปโดยล่าช้า ทําให้คู่ความไม่ได้รับ
            ความเท่ยงธรรมได้ (ฎีกาท่ 9347/2544) แต่ถ้าประสงค์จะอุทธรณ์คัดค้านการจดประเด็น
                                     ี
                    ี
                      ึ
                         ื
                                                                                     ิ
                                                         ั
                                                                                        ิ
                                                                                      ี
                                  ั
                               ํ
                                           ิ
                                  ่
                 ิ
            ข้อพพาทซงถอเป็นคาสงระหว่างพจารณา ต้องคดค้านไว้ตามประมวลกฎหมายวธพจารณา
                      ่
            ความแพ่ง มาตรา 226 ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
            พ.ศ. 2522 มาตรา 31 (ฎีกาที่ 4659/2536)
                                                        ั
                    3.  ในคดีแรงงาน  พระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
            พ.ศ. 2522 บัญญัติให้ศาลแรงงานมีอํานาจดําเนินกระบวนพิจารณาท้งปวงรวมท้งการกําหนด
                                                                          ั
                                                                                   ั
                               ื
            ประเด็นข้อพิพาทเพ่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินกระบวนพิจารณาและให้มีอํานาจระบุให้
            คู่ความฝ่ายใดนําพยานมาสืบก่อนหลังได้ด้วย หากศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยข้อเท็จจริงและ
            ข้อกฎหมายตามข้อต่อสู้ของคู่ความครบถ้วนแล้วต้องถือว่าศาลแรงงานได้ดําเนินกระบวน
            พิจารณาชอบด้วยกฎหมาย คู่ความไม่มีสิทธิคัดค้านว่าศาลแรงงานกําหนดประเด็นข้อพิพาท
                                                                    ี
            หรือระบุให้คู่ความฝ่ายใดนําพยานมาสืบก่อนหลังไม่ถูกต้องเช่นท่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย
            วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183 วรรคท้าย ได้ (ฎีกาที่ 5345/2542)
                                             ั
                    4.  แม้พระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน  พ.ศ.  2522
            มาตรา 39 จะใช้คําว่า “ให้ศาลแรงงานจดประเด็นข้อพิพาท” ก็ไม่ใช่บทบังคับเด็ดขาดให้ต้อง
            จดประเด็นข้อพิพาททุกคดี คงให้อยู่ในดุลพินิจของศาลท่จะจดประเด็นข้อพิพาทหรือไม่ก็ได้
                                                                ี
            (ฎีกาที่ 6458-6461/2544)





            352
   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359