Page 350 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 350
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ี
ี
ปรับเข้ากับมาตรา 33 โดยตรง เพราะมาตรา 33 “ให้ถือว่า” สถานท่ท่ลูกจ้างทํางานเป็นท ี ่
ึ
ท่มูลคดีเกิดข้น ไม่มีประโยคหรือถ้อยคําใดให้ถือว่าสถานท่ทําสัญญาจ้างเป็นท่ท่มูลคดีเกิดข้น
ี
ึ
ี
ี
ี
มิฉะนั้นก็จะมีการแปลความมาตรา 33 กว้างเกินไปกว่าที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร กรณี
ี
แตกต่างจากการตีความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งท่มิได้มีการกําหนดขอบเขต
11
ั
ของมูลคดีไว้ในตัวบท ดังน้น ตามข้อเท็จจริงในคําพิพากษาศาลฎีกาข้างต้นจึงมิได้เป็นการ
ื
ี
วางหลักในเร่องมูลคดีตามมาตรา 33 แต่อย่างใด ท้งหากจะถือว่าสถานท่ทําสัญญาจ้างคือสถานท ่ ี
ั
ี
ท่มูลคดีเกิดตามมาตรา 33 โดยตรงตามแนวคําพิพากษาศาลฎีกาดังกล่าว ก็อาจเกิดความ
ไม่เป็นธรรมต่อลูกจ้างท่ทํางานในกิจการขนาดใหญ่ท่มีสาขาท่วประเทศตามท่ได้อธิบายไว้แล้ว
ี
ี
ี
ั
ึ
ข้างต้น ซ่งต่อมาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษได้วินิจฉัยในกรณีน้ไว้โดยจํากัดขอบเขตมูลคด ี
ี
ตามมาตรา 33 ว่าเป็นสถานที่ที่ลูกจ้างทํางานเท่านั้น
�
ี
�
คาพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษท่ 7015/2562 โจทก์ฟ้องโดยขออนุญาต
ี
ฟ้องคดีต่อศาลแรงงานกลาง อ้างเหตุว่าจําเลยทําสัญญาสมัครเข้าทํางานกับโจทก์ท่สํานักงานใหญ่
ื
ี
อันอยู่ในเขตอํานาจของศาลแรงงานกลาง เม่อเหตุคดีน้เกิดข้นขณะจําเลยได้รับมอบหมายให้
ึ
ปฏิบัติหน้าท่ตําแหน่งพนักงานบริการบนรถโดยสารของโจทก์ในเส้นทางหนองคาย-นครหลวง
ี
ี
ี
เวียงจันทร์ จําเลยกระทําการอันเป็นการผิดสัญญาจ้างแรงงานละท้งหน้าท่ตามท่ได้รับมอบหมาย
ิ
ไปโดยไม่มีเหตุอันสมควร ต่อมาสถานีเดินรถหนองคายได้รายงานว่าจําเลยขาดงาน
ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 33 วรรคหน่ง
ึ
ั
ึ
ี
และวรรคสอง บัญญัติว่า คําฟ้องคดีแรงงานให้เสนอต่อศาลแรงงานท่มูลคดีเกิดข้นในเขต
ื
ศาลแรงงานน้น ถ้าโจทก์มีความประสงค์จะย่นคําฟ้องต่อศาลแรงงานท่โจทก์หรือจําเลยม ี
ั
ี
ภูมิลําเนาอยู่ในเขตศาลแรงงาน เม่อโจทก์แสดงให้ศาลแรงงานเห็นว่าการพิจารณาคดีใน
ื
ํ
์
้
่
้
ื
ั
่
็
้
ศาลแรงงานนน ๆ จะเปนการสะดวก ศาลแรงงานจะอนญาตใหโจทกยนคาฟองตามทขอนนกได ้
็
้
ี
ั
ุ
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้ถือว่าสถานที่ที่ลูกจ้างทํางานเป็นที่ที่มูลคดีเกิดขึ้น ดังนั้น สถานที่
ี
ท่มูลคดีเกิดข้นจึงหมายถึงสถานท่ท่ลูกจ้างทํางาน คือ สถานีเดินรถหนองคาย ซ่งไม่ได้อยู่ภายใน
ึ
ึ
ี
ี
เขตอํานาจศาลแรงงานกลาง
11 ในที่นี้ ต้องเข้าใจว่า พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ได้มีการยกร่างและ
ี
ประกาศใช้มาเป็นเวลานานแล้ว ในขณะท่มีการประกาศใช้กฎหมาย ลูกจ้างมักทํางาน ณ ภูมิลําเนาของตน การท่มาตรา 33
ี
ี
บัญญัติให้ฟ้อง ณ สถานท่ทํางานเป็นสถานท่ท่มูลคดีเกิด จึงเป็นการช่วยเหลือลูกจ้างในการเข้าถึงความยุติธรรม แต่ปัจจุบัน
ี
ี
ี
สภาพสังคมเปล่ยนแปลงไป การเดินทางหรือทํางานต่างถ่นเป็นเร่องปกติ จึงต้องรอความชัดเจนในการตีความของศาลหรือแก้ไข
ื
ิ
กฎหมายให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและการใช้แรงงานต่อไป
348