Page 347 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 347
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ทํางานเท่าน้นตามท่บัญญัติไว้ในวรรคสอง หรือรวมมูลคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ั
ั
ี
ความแพ่งเข้าไปด้วย เช่น สถานท่ท่ทําสัญญาจ้าง เป็นต้น ท้งสองแนวทางมีการถกเถียงกัน
ี
มาตลอดว่าควรจะแปลความบทบัญญัติดังกล่าวอย่างไร โดยผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรจะ
ั
ต้องถือตามมูลคดีท่มีกล่าวไว้โดยชัดแจ้งตามมาตรา 33 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ง
ี
ี
ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 เป็นอันดับแรก ตามเหตุผลท่ได้อธิบายไว้
ในตอนต้นของบทความ นอกจากน้น กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงานยังมีแนวคิดในการร่าง
ั
แตกต่างไปจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กล่าวคือ ตามกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่งต้งอยู่บนสมมติฐานว่าคู่กรณีมีฐานะเท่าเทียมกัน แต่ในกฎหมายแรงงานแทบทุกฉบับ
ั
ั
ึ
ั
ร่างข้นโดยต้งอยู่บนสมมติฐานว่า นายจ้างมีอํานาจต่อรองท้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ
ี
มากกว่าลูกจ้าง จึงเป็นกฎหมายท่ร่างมาจากแนวคิดว่า คู่กรณีมีฐานะไม่เท่าเทียมกัน
การแปลความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยไม่คํานึงถึงพลวัตทางเศรษฐกิจ
ึ
ิ
และแรงงานทเปลยนแปลงไปจงอาจก่อให้เกดความไม่เป็นธรรมและกระทบต่อหลกนตธรรม
่
ี
ี
ิ
่
ิ
ั
(Rule of Law) ได้ ดังอุทาหรณ์ที่เกิดขึ้นดังต่อไปนี้
ี
แต่เดิมในขณะท่เศรษฐกิจของประเทศยังไม่พัฒนามากนัก ศาลแรงงานกลางเคยรับฟ้อง
้
ึ
ํ
ํ
ื
คดทอ้างว่าสญญาจ้างทาขนในเขตศาล เน่องจากสถานททีลกจ้างทางานกบสถานททาสญญา
ั
่
ู
ี
่
ี
ี
่
ํ
ั
ี
่
ั
จ้างมักเป็นแห่งเดียวกัน การรับฟ้องจึงไม่เกิดปัญหาโต้แย้งในเรื่องเขตอํานาจศาล ต่อมาสภาพ
ึ
เศรษฐกิจและสังคมเปล่ยนแปลงไป มีบริษัทขนาดใหญ่เกิดข้นเป็นจํานวนมาก บริษัทเหล่าน ้ ี
ี
มักมีสํานักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเทพมหานคร แต่จะมีสาขากระจายตามจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ
ี
การทําสัญญาจ้างก็จะให้ลูกจ้างลงลายมือช่อท่ท่สาขาน้นต้งอยู่ แล้วอ้างว่ามีการส่งสัญญา
ี
ั
ื
ั
ี
กลับมาให้ผู้มีอํานาจลงลายมือช่อท่สํานักงานใหญ่ ต่อมาเม่อนายจ้างฟ้องคดีลูกจ้างก็จะฟ้อง
ื
ื
่
ั
ื
ุ
ี
่
ทกรงเทพมหานครโดยถือว่าเป็นสถานททาสญญา เมอศาลแรงงานกลางรบฟ้องคดประเภทน ้ ี
ั
ี
ํ
ี
่
ี
จึงเกิดปัญหาว่า ลูกจ้างไม่สามารถเดินทางมาต่อสู้คดีท่กรุงเทพมหานครได้ ทําให้คดีขาดนัด
ื
หลายคดี ท้งน้เน่องจากในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีแรงงานน้นแตกต่างจากการดําเนิน
ั
ั
ี
ี
ั
กระบวนพิจารณาคดีแพ่งท่วไป คดีแรงงานต้องมีการไกล่เกล่ยก่อนเสมอ วันแรกท่มาศาลจึงต้อง
ี
ี
คู่ความอาจร้องขอต่อศาลแรงงานท่โจทก์ได้ย่นคําฟ้องไว้ขอให้โอนคดีไปยังศาลแรงงานอ่นท่มีเขตอํานาจได้ แต่จะต้องยกเหตุผล
ี
ื
ื
และความจําเป็นข้นอ้างอิง เม่อศาลแรงงานพิจารณาเห็นสมควรจะมีคําส่งอนุญาตตามคําขอน้นก็ได้ แต่ห้ามมิให้ศาลแรงงาน
ื
ึ
ั
ั
ั
ี
ั
ั
ี
ออกคําส่งเช่นว่าน้น เว้นแต่ศาลแรงงานท่จะรับโอนคดีไปน้นได้ยินยอมเสียก่อน ถ้าศาลแรงงานท่จะรับโอนคดีไม่ยินยอม
ก็ให้ศาลแรงงานท่จะโอนคดีน้นส่งเร่องให้ประธานศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษช้ขาด คําช้ขาดของประธานศาลอุทธรณ์
ี
ื
ี
ี
ั
คดีชํานัญพิเศษให้เป็นที่สุด”
345